Page 186 - rambutan
P. 186

3-112






                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั้งในและต่างประเทศดังกล่าว จะเป็นแรงกดดันให้

                  ประเทศไทยต้องปรับตัวและมีการบริหารความเสี่ยงอย่างชาญฉลาดมากขึ้น ต่อจากนี้ไปประเทศไทย

                  ต้องปรับเปลี่ยนครั้งใหญ่ เพื่อแก้ไขปัญหารากฐานส าคัญที่เป็นจุดอ่อนและข้อจ ากัดของประเทศที่สั่ง
                  สมมานาน ในขณะเดียวกันด าเนินยุทธศาสตร์เชิงรุกเพื่อใช้ประโยชน์จากจุดแข็งและจุดเด่นของ

                  ประเทศ ดังนั้นจึงมีความจ าเป็นที่จะต้องให้ความส าคัญกับประเด็นที่มีลักษณะการบูรณาการ และใช้

                  ประกอบการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณ เพื่อการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติเกิดผลสัมฤทธิ์ได้

                  อย่างแท้จริง โดยมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดท าเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจทุเรียน ประกอบด้วย

                      การปรับระบบการผลิตการเกษตรให้สอดคล้องกับพันธกรณีในด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                  ภูมิอากาศและศักยภาพของพื้นที่ เน้นการสร้างองค์ความรู้ทางวิชาการเกษตรวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

                  และนวัตกรรมแบบมีส่วนร่วมที่เชื่อมโยงกับฐานทรัพยากรชีวภาพ (Bio Based) ในการสร้างมูลค่าเพิ่ม

                  ให้สินค้าเกษตรมีความปลอดภัย ไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนและสิ่งแวดล้อมของ
                  ประเทศ การพัฒนาระบบเกษตรกรรมที่ยั่งยืนและการขยายโอกาสในการเข้าถึงพื้นที่ท ากินของ

                  เกษตรกรรวมทั้งส่งเสริมการรวมกลุ่มทางการเกษตรจากกิจการเจ้าของคนเดียว เป็นการประกอบการ

                  ในลักษณะสหกรณ์ห้างหุ้นส่วนและบริษัท เพื่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาด
                      การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างภาคการผลิต เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจขยายฐานเศรษฐกิจให้

                  กว้างขึ้น และต่อยอดห่วงโซ่การผลิตให้เข้มแข็งขึ้น โดยการเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตและน าผลการวิจัย

                  และการพัฒนาที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ในการสร้างผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ที่หลากหลายและ

                  สอดคล้องกับความต้องการของตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาความเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่ง
                  โลจิสติกส์ และโทรคมนาคม ในกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคภายใต้แผนงานของกรอบความร่วมมือ

                  ทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น ้าโขง กรอบความร่วมมือลุ่มแม่น ้าอิระวดี เจ้าพระยา แม่โขง กรอบ

                  ความร่วมมือเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย กรอบความร่วมมือความริเริ่มแห่ง
                  อ่าวเบงกอลส าหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ กรอบความร่วมมือเพื่อ

                  พัฒนาชายแดนไทย-มาเลเซีย และภูมิภาคอาเซียนเพื่ออ านวยความสะดวกและลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์

                      จากประเด็นดังกล่าวน าไปสู่การความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ที่ส าคัญประกอบด้วย

                      ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน  เศรษฐกิจไทย
                  ขยายตัวต ่ากว่าศักยภาพอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายปี ทั้งจากผลกระทบของเศรษฐกิจโลกซบเซาและ

                  ข้อจ ากัดภายในประเทศเองที่เป็นอุปสรรคต่อการเพิ่มผลิตภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน

                  รวมทั้งฐานเศรษฐกิจภายในประเทศขยายตัวช้าการพัฒนา 5 ปีต่อจากนี้ไป จึงเน้นให้เศรษฐกิจเติบโต
                  ได้ตามศักยภาพและมีเสถียรภาพภาคส่งออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเป็นกลไกส าคัญใน

                  การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพการผลิตของประเทศเพิ่มขึ้น การลงทุนภาครัฐและเอกชนมีการขยายตัว
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191