Page 141 - rambutan
P. 141

3-67






                  ตารางที่ 3-17  ผลผลิตเฉลี่ยและมูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนการผลิตเงาะระดับประเทศ
                               ปีการผลิต 2559

                                          ผลผลิต   ต้นทุนทั้งหมด               รายได้    ผลตอบแทนสุทธิ
                           ปีที่                                   ราคา
                                        (กก./ไร่/ปี)   (บาท/ไร่/ปี)          (บาท/ไร่/ปี)   (บาท/ไร่/ปี)
                            1               -           7,745.68     -           -           -7,745.68
                           2-3              -           7,770.06     -           -           -7,770.06

                           4-10          1,303.90      14,312.19    24.34      31,736.93     17,424.74
                           11-20         1,486.36      14,571.48    24.34      36,178.00     21,606.52
                         มากกว่า 20      1,245.30      13,258.54    24.34      30,310.60     17,052.06

                           รวม          30,217.40     335,478.63              735,491.51    400,012.88
                  NPV (r=7%)                          149,406.26              300,906.47    151,500.21

                  ค่าเฉลี่ยต่อปี (CRF=0.0858)   1,373.52   12,819.06           25,817.78     12,998.72
                  B/C = 2.01              IRR =  48.56 %         จุดคุ้มทุน =  ปีที่ 5


                  ที่มา :  วิเคราะห์จากข้อมูลเบื้องต้นที่ส ารวจโดยกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร และกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2560)

                                    เงาะปีที่ 1 และปีที่ 2-3 เกษตรกรยังไม่มีรายได้แต่มีค่าใช้จ่ายในการปลูกและดูแล
                  รักษาเนื่องจากเงาะยังไม่ให้ผลผลิตผลตอบแทนการผลิตทุกประเภทจึงขาดทุน กล่าวคือ ปีที่ 1 ผลตอบแทน

                  เหนือต้นทุนที่เป็นเงินสดขาดทุน 2,627.69 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรขาดทุน 4,287.30

                  บาทต่อไร่ และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุน 6,810.49 บาทต่อไร่ ปีที่ 2-3 ผลตอบแทน

                  เหนือต้นทุนที่เป็นเงินสดขาดทุน 4,600.48 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรขาดทุน
                  7,150.52 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุน 9,511.46 บาทต่อไร่ ในช่วงอายุที่ให้ผล

                  ผลิตจะเห็นว่า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยส่วนใหญ่เป็นค่าแรงงานมากที่สุดร้อยละ 43.70-50.86 ของต้นทุนผันแปร

                  เป็นแรงงานคนมากกว่าแรงงานเครื่องจักร และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดมากกว่า 1 (2.19-2.45)
                  แสดงว่า ทุกช่วงอายุที่เงาะให้ผลผลิตเกษตรกรได้รับผลก าไรจากการลงทุน (ตารางที่ 3-19)

                                    การผลิตเงาะตลอดช่วงอายุปีที่ 1-25 คิดเป็นมูลค่าปัจจุบัน (NPV) ในพื้นที่ที่มี

                  ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ได้ผลผลิตเฉลี่ยต่อปี 1,445.50 กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าปัจจุบันของต้นทุน
                  รายได้และผลตอบแทนการผลิต มีดังนี้ ต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยต่อปี 13,574.56 บาทต่อไร่ รายได้เฉลี่ยต่อ

                  ปี 27,045.87 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยต่อปี 13,471.31 บาทต่อไร่ อัตราผลตอบแทนภายใน

                  (IRR) ร้อยละ 47.58 ต่อปี อัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนเท่ากับ 1.99 จุดคุ้มทุนในปีที่ 5 นับว่า ได้รับ
                  รายได้ต่อปีจากการลงทุนค่อนข้างต ่าแต่ระยะเวลาคืนทุนค่อนข้างเร็ว คือปีที่ 2 หลังจากปีที่เริ่มให้ผล

                  ผลิต (ตารางที่ 3-20)
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146