Page 137 - rambutan
P. 137

3-63





                   ตารางที่ 3-14   (ต่อ)

                                                     หน่วย          ระดับความเหมาะสม
                                รายการ                                                         เฉลี่ย
                                                     (ต่อไร่)    สูง (S1)     ปานกลาง (S2)
                   สารเร่งการเจริญเติบโต

                       ชนิดน ้า                       ลิตร         0.37           0.31         0.35
                       ชนิดผง/เม็ด                    กก.          **             0.16         0.06
                   สารก าจัดวัชพืช ชนิดน ้า           ลิตร         0.57           1.20         0.79

                   สารป้องกันและก าจัดศัตรูพืช ชนิดน ้า   ลิตร     0.55           0.53         0.54
                   สารก าจัดโรคพืช
                       ชนิดน ้า                       ลิตร         0.38           0.31         0.36

                       ชนิดผง/เม็ด                    กก.          0.06           0.24         0.13
                   น ้ามันเชื้อเพลิง/หล่อลื่น         ลิตร         4.14           0.70         2.95

                  หมายเหตุ ** ปริมาณน้อยมาก
                  ที่มา :  วิเคราะห์จากข้อมูลเบื้องต้นที่ส ารวจโดยกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร และกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2560)

                        3.2.2  ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิต
                            1)  ต้นทุนและผลตอบแทนระดับประเทศ

                              เงาะตลอดช่วงอายุให้ผลผลิตเฉลี่ย 1,115.43  กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าผลผลิต 27,147.71

                  บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 12,929.05 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร 10,522.12 บาทต่อไร่ (ร้อยละ
                  81.38) และต้นทุนคงที่ 2,406.93 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 18.62) ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนผันแปรส่วนใหญ่

                  เป็นค่าแรงงาน 5,038.43 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 47.88) ได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนที่เป็นเงินสด 19,515.35

                  บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 16,625.59 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด

                  14,218.66 บาทต่อไร่ และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 2.10 (ตารางที่ 3-15)
                              เงาะแยกตามช่วงอายุในภาพรวมของประเทศ พบว่า ผลตอบแทนการผลิตมากที่สุด

                  ในช่วงที่เงาะมีอายุ 11-20 ปี กล่าวคือ ผลผลิตเฉลี่ย 1,486.36 กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าผลผลิต 36,178.00

                  บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 14,571.48 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร 12,065.91 บาทต่อไร่ (ร้อยละ
                  82.80) และต้นทุนคงที่ 2,505.57 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 17.20) ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนผันแปรส่วนใหญ่

                  เป็นค่าแรงงาน 5,948.68 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 49.30) ได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนที่เป็นเงินสด 27,200.38

                  บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 24,112.09 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด

                  21,606.52 บาทต่อไร่ และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 2.48 เงาะปีที่ 1 และปีที่ 2-3
                  เกษตรกรยังไม่มีรายได้แต่มีค่าใช้จ่ายในการปลูกและดูแลรักษาเนื่องจากเงาะยังไม่ให้ผลผลิตผลตอบแทน
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142