Page 133 - rambutan
P. 133

3-59





                  เหมาะสมปานกลาง (S2) เฉลี่ย 14.57 วันต่อคนต่อไร่ แรงงานเครื่องจักรใช้มากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับ

                  ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เฉลี่ย 9.55 ชั่วโมงต่อไร่ ปุ๋ ยเคมีใช้มากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความ

                  เหมาะสมสูง (S1) เฉลี่ย 124.03 กิโลกรัมต่อไร่ ปุ๋ ยชีวภาพชนิดเม็ดใช้มากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความ
                  เหมาะสมปานกลาง (S2) เฉลี่ย 19.84 กิโลกรัมต่อไร่ ปุ๋ ยคอกใช้มากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความ

                  เหมาะสมสูง (S1) เฉลี่ย 489.12 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้สารเร่งการเจริญเติบโตชนิดน ้าไม่แตกต่างกันระหว่าง

                  0.68-1.03 ลิตรต่อไร่ ส่วนสารเร่งการเจริญเติบโตชนิดเม็ดใช้ปริมาณเล็กน้อยระหว่าง 0.01-0.09

                  กิโลกรัมต่อไร่ สารก าจัดวัชพืชและสารป้องกันและก าจัดศัตรูพืช ส่วนใหญ่ใช้ชนิดน ้าและปริมาณไม่
                  แตกต่างกันมากนัก สารป้องกันและก าจัดโรคพืชมีการใช้ทั้งชนิดน ้าและชนิดผง ส าหรับน ้ามัน

                  เชื้อเพลิงและหล่อลื่นใช้ปริมาณมากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เฉลี่ย 8.23 ลิตร

                  ต่อไร่ (ตารางที่ 3-11)

                              (2) การใช้ปัจจัยการผลิตในพื้นที่ภาคใต้ การใช้ปัจจัยประเภทต่างๆ จ าแนกตามช่วงอายุ
                  และระดับความเหมาะสมทางกายภาพของพื้นที่ดังนี้

                                -  พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ตลอดช่วงอายุใช้ปัจจัยการผลิตโดยเฉลี่ย

                  ดังนี้ แรงงานคน 10.34 วันต่อคนต่อไร่ ในช่วงที่ยังไม่ให้ผลผลิตปีที่ 1 ใช้แรงงานคน 3.75 วันต่อคน
                  ต่อไร่ ปีที่ 2-3 4.78 วันต่อคนต่อไร่ แรงงานเครื่องจักร 11.45 ชั่วโมงต่อไร่ ช่วงที่ยังไม่ให้ผลผลิตปีที่ 1

                  ใช้แรงงานเครื่องจักร 3.35 ชั่วโมงต่อไร่ ปีที่ 2-3 2.45 ชั่วโมงต่อไร่ ปุ๋ ยเคมีปีที่ 1 18.19 กิโลกรัมต่อไร่

                  ปีที่ 2-3 40.90 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นต้น ช่วงที่ให้ผลผลิตปริมาณการใช้ปัจจัยต่างๆ ตามช่วงอายุ ได้แก่
                  แรงงานคน 10.66-11.10 วันต่อคนไร่ ใช้มากที่สุดในปีที่ 4-10 แรงงานเครื่องจักร 9.88-14.85 ชั่วโมง

                  ต่อไร่ ปุ๋ ยเคมี 74.69-105.00 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้ง 2 ปัจจัยใช้ปริมาณมากที่สุดในปีที่ 11-20 นอกจากนี้ยัง

                  มีการใช้ปุ๋ ยชีวภาพชนิดเม็ด ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก สารเร่งการเจริญเติบโต สารป้องกันและก าจัดวัชพืช/

                  ศัตรูพืช/โรคพืช และน ้ามันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น (ตารางที่ 3-12)

                                -  พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ตลอดช่วงอายุใช้ปัจจัยการผลิต
                  โดยเฉลี่ยดังนี้ แรงงานคน 8.26 วันต่อคนต่อไร่ ในช่วงที่ยังไม่ให้ผลผลิตปีที่ 1 ใช้แรงงานคน 8.26 วันต่อ

                  คนต่อไร่ ปีที่ 2-3 1.69 วันต่อคนต่อไร่ แรงงานเครื่องจักร 3.56 ชั่วโมงต่อไร่ ช่วงที่ยังไม่ให้ผลผลิตปีที่ 1

                  ใช้แรงงานเครื่องจักร 3.56 ชั่วโมงต่อไร่ ปีที่ 2-3 3.75 ชั่วโมงต่อไร่ ปุ๋ ยเคมีปีที่ 1 44.35 กิโลกรัมต่อไร่  ปีที่
                  2-3 21.02 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นต้น ช่วงที่ให้ผลผลิตปริมาณการใช้ปัจจัยต่างๆ ตามช่วงอายุ ได้แก่

                  แรงงานคน 9.20-10.32 วันต่อคนต่อไร่ ใช้ปริมาณมากที่สุดในปีที่ 11-20 แรงงานเครื่องจักร 3.46-4.32

                  ชั่วโมงต่อไร่ ปริมาณมากที่สุดในปีที่ 4-10 ปุ๋ ยเคมี 75.67-134.66 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้ปริมาณมากที่สุด
                  ในช่วงที่มีอายุมากกว่า 20 ป ี นอกจากนี้ยังมีการใช้สารเร่งการเจริญเติบโต สารป้องกันและก าจัดวัชพืช/

                  ศัตรูพืช/โรคพืช และน ้ามันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น (ตารางที่ 3-13)
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138