Page 144 - rambutan
P. 144

3-70






                  ตารางที่ 3-20  ผลผลิตเฉลี่ยและมูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนการผลิตเงาะ ในพื้นที่ที่มีระดับ
                               ความเหมาะสมสูง (S1) ปีการผลิต 2559

                                          ผลผลิต   ต้นทุนทั้งหมด               รายได้    ผลตอบแทนสุทธิ
                           ปีที่                                   ราคา
                                        (กก./ไร่/ปี)   (บาท/ไร่/ปี)          (บาท/ไร่/ปี)   (บาท/ไร่/ปี)
                            1               -          6,810.49      -           -           -6,810.49
                           2-3              -          9,511.46      -           -           -9,511.46

                           4-10          1,359.52      15,107.58     24.34     33,090.72     17,983.14
                           11-20         1,548.58      15,377.76     24.34     37,692.44     22,314.68
                         มากกว่า 20      1,359.71      13,597.36     24.34     33,095.34     19,497.98

                           รวม          31,800.99     353,350.87              774,036.14    420,685.27
                  NPV (r=7%)                          158,211.66              315,219.98    157,008.32

                  ค่าเฉลี่ยต่อปี (CRF=0.0858)   1,445.50   13,574.56           27,045.87     13,471.31
                  B/C = 1.99              IRR =  47.58%          จุดคุ้มทุน =  ปีที่ 5


                  ที่มา :  วิเคราะห์จากข้อมูลเบื้องต้นที่ส ารวจโดยกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร และกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2560)

                              (2)  พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เงาะที่ปลูกในพื้นที่ที่มีความเหมาะสม

                  ปานกลาง (S2) ได้ผลผลิตเฉลี่ย 1,073.43 กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าผลผลิต 26,127.29 บาทต่อไร่ ต้นทุน
                  ทั้งหมด 11,509.98 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร 8,673.48 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 75.36) และต้นทุนคงที่

                  2,836.50 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 24.64) ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนผันแปรส่วนใหญ่เป็นค่าแรงงาน 4,557.02

                  บาทต่อไร่ (ร้อยละ 52.54) ได้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนที่เป็นเงินสด 20,289.78 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน
                  เหนือต้นทุนผันแปร 17,453.81 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 14,617.31 บาทต่อไร่ และมี

                  อัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 2.27 (ตารางที่ 3-21)

                                    เงาะแยกตามช่วงอายุที่ปลูกในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                  พบว่า ผลตอบแทนการผลิตมากที่สุดในช่วงที่เงาะมีอายุ 11-20 ปี กล่าวคือ ผลผลิตเฉลี่ย 1,373.65

                  กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าผลผลิต 33,434.64 บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 12,427.46 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุน

                  ผันแปร 9,560.89 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 76.93) และต้นทุนคงที่ 2,866.57 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 23.07)
                  ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนผันแปรส่วนใหญ่เป็นค่าแรงงาน 4,959.66 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 51.88) ได้รับ

                  ผลตอบแทนเหนือต้นทุนที่เป็นเงินสด 27,626.91 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 23,873.75

                  บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 21,007.18 บาทต่อไร่ และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุน

                  ทั้งหมดเท่ากับ 2.69 (ตารางที่ 3-22)
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149