Page 50 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 50

2-32






                          - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เสี่ยงตอการขาดน้ำ ในระยะที่ฝนทิ้งชวงนาน

                  บางพื้นที่อาจพบชั้นดานแข็งที่เกิดจากการเขตกรรม

                        กลุมชุดดินที่ 35
                          เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ หรือการสลายตัวผุพังอยูกับที่
                  หรือการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบที่สวนใหญมาจากหินตะกอน
                  พบบริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขาหรือเปนพื้นที่ภูเขา

                  เปนดินลึกมีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินรวนละเอียด พบกลุมชุดดินยอย
                  ประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 35 35gm 35b,csub 35Bb 35Bb,csub 35Bb,d3c
                  35Bcalsub 35Bcsub 35Bd3c 35b,csub/37b 35B 35Bgm 35C 35Cd3c 35D 35d3c 35E 35/44

                  35B/36B 35B/40B 35B/48B 35B/56B 35Bb,csub/37Bb 35Bd3c/49B 35C/40C 35C/48C
                  35C/56C 35C/RC 35Cd3c/49C 35D/40D 35D/48D 35D/56D 35E/40E 35E/48E 35E/55E และ
                  35E/56E โดยมีรายละเอียดดังนี้
                            (1) กลุมชุดดินที่ 35 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                                (2) กลุมชุดดินที่ 35gm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 35 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                  ราบเรียบ พื้นที่มีการแชขังของน้ำทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร
                                (3) กลุมชุดดินที่ 35b,csub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 35 ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการ
                  ปนคันนา และพบชั้นดินเหนียวที่ความลึกมากกวา 100 เซนติเมตร มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง

                  ราบเรียบ
                                (4) กลุมชุดดินที่ 35Bb เปนดินในกลุมชุดดินที่ 35 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา
                                (5) กลุมชุดดินที่ 35Bb,csub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 35 ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการ

                  ปนคันนา และพบชั้นดินเหนียวที่ความลึกมากกวา 100 เซนติเมตร มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย
                                (6) กลุมชุดดินที่ 35Bb,d3c เปนดินในกลุมชุดดินที่ 35 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น

                  ลอนลาดเล็กนอย มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา และพบมวลพอกหรือสารเม็ดกลมของ
                  เหล็กแมงกานีส ที่ความลึก 50-100 เซนติเมตร
                                (7) กลุมชุดดินที่ 35B,calsub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 35 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย พบการสะสมของปูนที่ความลึกมากกวา 100 เซนติเมตร
                                (8) กลุมชุดดินที่ 35B,csub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 35 ที่พบชั้นดินเหนียวที่ความลึก

                  มากกวา 100 เซนติเมตร มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                                (9) กลุมชุดดินที่ 35B,d3c เปนดินในกลุมชุดดินที่ 35 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย พบมวลพอกหรือสารเม็ดกลมของเหล็กแมงกานีส ที่ความลึก 50-100 เซนติเมตร

                               (10) กลุมชุดดินที่ 35b,csub/37b เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 35 และ
                  กลุมชุดดินที่ 37 ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา และพบชั้นดินเหนียวที่ความลึกมากกวา 100 เซนติเมตร
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55