Page 52 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 52

2-34






                               (29) กลุมชุดดินที่ 35Cd3c/49C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 35 ที่พบ

                  มวลพอกหรือสารเม็ดกลมของเหล็กแมงกานีส ที่ความลึก 50-100 เซนติเมตร และกลุมชุดดินที่ 56
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (30) กลุมชุดดินที่ 35D/40D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 35 และกลุมชุดดินที่ 40

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (31) กลุมชุดดินที่ 35D/48D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 35 และกลุมชุดดินที่ 48
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (32) กลุมชุดดินที่ 35D/56D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 35 และกลุมชุดดินที่ 56

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (33) กลุมชุดดินที่ 35E/40E เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 35 และกลุมชุดดินที่ 40
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (34) กลุมชุดดินที่ 35E/48E เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 35 และกลุมชุดดินที่ 48

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (35) กลุมชุดดินที่ 35E/55E เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 35 และกลุมชุดดินที่ 55
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (36) กลุมชุดดินที่ 35E/56E เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 35 และกลุมชุดดินที่ 56

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                          - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เนื้อดินคอนขางเปนทราย และดินมีความ
                  อุดมสมบูรณต่ำ ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเกี่ยวกับชะลางพังทลายของหนาดิน

                          กลุมชุดดินที่ 36
                          เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ หรือการสลายตัวผุพังอยูกับที่

                  หรือการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบพบบริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินลึก มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง มีเนื้อดินเปนพวกดิน
                  รวนละเอียดพบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 36 36gm

                  36b,calsub  36b,csub  36B  36Bb  36Bb,cal  36Bb,calsub  36Bb,csub  36Bcalsub
                  36Bcsub 36Bd3c 36Bgm 36C 36csub 36D 36E 36/36b 36B/36Bb แ ล ะ  36B/38B
                  โดยมีรายละเอียดดังนี้
                          (1) กลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                          (2) กลุมชุดดินที่ 36gm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ

                  คอนขางราบเรียบ มีการแชขังของน้ำจากชั้นน้ำใตดิน ทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร
                          (3) กลุมชุดดินที่ 36b,calsub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ
                  คอนขางราบเรียบ ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา และพบการสะสมของปูนที่ความลึกมากกวา

                  100 เซนติเมตร
                             (4) กลุมชุดดินที่ 36b,csub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ
                  คอนขางราบเรียบ ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา และพบชั้นดินเหนียวที่ความลึกมากกวา
                  100 เซนติเมตร





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57