Page 53 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 53

2-35





                             (5) กลุมชุดดินที่ 36B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                             (6)  กลุมชุดดินที่ 36Bb เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา
                             (7) กลุมชุดดินที่ 36Bb,cal เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น

                  ลอนลาดเล็กนอย ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา และพบการสะสมปูน
                            (8) กลุมชุดดินที่ 36Bb,calsub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา และพบการสะสมของปูนที่ความลึกมากกวา
                  100 เซนติเมตร

                             (9) กลุมชุดดินที่ 36Bb,csub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา และพบชั้นดินเหนียวที่ความลึกมากกวา
                  100 เซนติเมตร
                            (10) กลุมชุดดินที่ 36B,calsub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น

                  ลอนลาดเล็กนอย และพบการสะสมของปูนที่ความลึกมากกวา 100 เซนติเมตร
                            (11) กลุมชุดดินที่ 36B,csub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย และพบชั้นดินเหนียวที่ความลึกมากกวา 100 เซนติเมตร
                             (12) กลุมชุดดินที่ 36d3c เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 ที่พบมวลพอกหรือสารเม็ดกลมของ

                  เหล็กแมงกานีส ที่ความลึก 50-100 เซนติเมตร มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                          (13) กลุมชุดดินที่ 36Bgm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย มีการแชขังของน้ำจากชั้นน้ำใตดิน ทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร
                             (14) กลุมชุดดินที่ 36C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                            (15) กลุมชุดดินที่ 36,csub เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ
                  คอนขางราบเรียบ และพบชั้นดินเหนียวที่ความลึกมากกวา 100 เซนติเมตร
                             (16) กลุมชุดดินที่ 36D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                             (17) กลุมชุดดินที่ 36E เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา

                             (18) กลุมชุดดินที่ 36/36b เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 และกลุมชุดดินที่ 36 ที่มีการ
                  จัดการพื้นที่โดยการปนคันนา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ
                             (19) กลุมชุดดินที่ 36B/36Bb เปนดินในกลุมชุดดินที่ 36 และกลุมชุดดินที่ 36 ที่มีการ

                  จัดการพื้นที่โดยการปนคันนา มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                             (20) กลุมชุดดินที่ 36B/38B เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 36 และกลุมชุดดินที่ 38
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                          - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก การมีเนื้อดินคอนขางเปนทราย ซึ่งทำให
                  ดินอุมน้ำไดนอย พืชอาจขาดแคลนน้ำไดในชวงฝนทิ้งเปนระยะเวลานานๆ สำหรับบริเวณที่มีความลาดชันสูง

                  อาจมีปญหาเรื่องการชะลางพังทลายเกิดขึ้น









                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58