Page 46 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 46

2-28






                               (47) กลุมชุดดินที่ 29E/48E เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 29 และกลุมชุดดินที่ 48

                  มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา
                               (48) กลุมชุดดินที่ 29E/52E เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 29 และกลุมชุดดินที่ 52
                  มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา

                               (49) กลุมชุดดินที่ 29E/55E เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 29 และกลุมชุดดินที่ 55
                  มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา
                               (50) กลุมชุดดินที่ 29E/RL เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 29 มีสภาพพื้นที่เปน
                  เนินเขา และเปนที่ดินที่เต็มไปดวยกอนหิน

                          - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ดินมีความอุดมสมบูรณต่ำในชวงฤดู
                  เพาะปลูกพืชอาจขาดน้ำไดหากฝนทิ้งชวงไปเปนเวลานาน สวนในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหา
                  เกี่ยวกับการชะลางพังทลายของหนาดิน

                          กลุมชุดดินที่ 30
                            เปนกลุมชุดดินที่พบบริเวณพื้นที่ภูเขาสูงที่สวนใหญมีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง

                  ตั้งแต 500 เมตรขึ้นไป เกิดจากการสลายตัวผุพังของวัตถุตนกำเนิดดินพวกหินเนื้อละเอียดเปนดินลึกมาก
                  ที่มีการระบายน้ำดี เนื้อดินเปนพวกดินเหนียว พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก
                  กลุมชุดดินที่ 30 30B 30C 30D และ 30E โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                (1)  กลุมชุดดินที่ 30 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ

                               (2)  กลุมชุดดินที่ 30B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 30 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                               (3)  กลุมชุดดินที่ 30C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 30 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (4)  กลุมชุดดินที่ 30D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 30 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (5)  กลุมชุดดินที่ 30E เปนดินในกลุมชุดดินที่ 30 มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา

                          - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เปนดินที่เกิดอยูบริเวณที่มีระดับความสูง

                  มากมีความลาดชันสูง มีแนวโนมที่จะเกิดการชะลางพังทลายไดงาย

                          กลุมชุดดินที่ 31
                          เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูก
                  เคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อละเอียดหรือจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำพบบริเวณที่ดอน

                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินลึกที่มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง
                  เนื้อดินเปนพวกดินเหนียว พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 31 31gm
                  31gm,cal  31B  31Bb  31Bb,calsub  31Bcalsub  31Bgm  31C  31Ccalsub  31D  31E  31/ 31b
                  31B/31Bb 31B/33B 31B/36B 31B/47B 31B/48B 31b/55 31B/55B 31B/RL 31C/36C 31C/47C
                  31C/48C 31C/52C 31C/55C 31C/RC 31D/35D 31D/47D 31D/55D 31D/RC 31E/47E 31E/55E

                  และ 31E/RC โดยมีรายละเอียดดังนี้












                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51