Page 24 - mize
P. 24
2-12
ตารางที่ 2-1 (ต่อ)
เนื้อที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง (ไร่)
ภาค/จังหวัด รวม
นอกเขตป่า ในเขตป่า
ชัยภูมิ 555 4 559
อ านาจเจริญ 512 28 540
หนองบัวล าภู 298 54 352
ขอนแก่น 318 14 332
บุรีรัมย์ 85 - 85
สุรินทร์ 64 5 69
อุดรธานี 56 - 56
ภาคกลาง 334 8 342
สิงห์บุรี 149 - 149
ลพบุรี 97 - 97
สุพรรณบุรี 62 - 62
กาญจนบุรี 26 8 34
ภาคตะวันออก 53 - 53
สระแก้ว 53 - 53
หมายเหตุ : 1. การใช้ที่ดินเป็นการใช้ที่ดินทั้งในและนอกพื้นที่เขตป่าตามกฎหมาย
2. เนื้อที่ได้จากการค านวนโดยระบบภูมิสารสนเทศ (GIS)
3. ขอบเขตการปกครองเป็นไปตามขอบเขตกรมการปกครอง ปี 2556
2.6 สภาพการผลิตและการตลาด
2.6.1 แหล่งผลิตที่ส าคัญ
จากข้อมูลของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2561/62 พบว่า เนื้อที่ปลูก
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รวมทั้งประเทศ 6.93 ล้านไร่ แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ ได้แก่ ภาคเหนือ มีเนื้อที่ปลูก
4.68 ล้านไร่ รองลงมาได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื้อที่ปลูก 1.47 ล้านไร่ และภาคกลาง
มีเนื้อที่ปลูก 0.78 ล้านไร่ ตามล าดับ (ตารางที่ 2-2) แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ 5 อันดับแรกอยู่ที่จังหวัด
เพชรบูรณ์ นครราชสีมา น่าน ตาก และเลย ตามล าดับ โดยมีเนื้อที่ปลูก 866,115 694,595 679,196
579,348 และ 490,015 ไร่ ตามล าดับ และเนื้อที่เก็บเกี่ยว 862,725 691,982 678,974 572,795 และ
488,693 ไร่ ตามล าดับ จังหวัดที่มีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่มากที่สุด 5 จังหวัด ได้แก่ เพชรบูรณ์ นครราชสีมา
ตาก เลย และน่าน โดยมีผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 775 751 690 688 และ 680 กิโลกรัม ตามล าดับ
ทั้งนี้ผลผลิตที่ได้รับจะขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของพื้นที่เพาะปลูกในแต่ละพื้นที่และพันธุ์
ของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ปลูก (ตารางที่ 2-3)
ส าหรับช่วงเวลาการเพาะปลูกของประเทศไทยโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 รุ่น คือ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่นที่ 1 (ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ต้นฝนและปลายฝน) หมายถึง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกร
เพาะปลูกระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคมถึง 31 ตุลาคม และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่นที่ 2 (ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ฤดูแล้ง) หมายถึง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกรเพาะปลูกระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายนถึง 30 เมษายน
ในปีการผลิตถัดไป ช่วงเวลาปี 2552/53-2561/62 เนื้อที่ปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว และผลผลิตรวม
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน