Page 18 - mize
P. 18

2-6






                          2.3.3 กลุ่มชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินชื้น

                            ลักษณะโดยทั่วไปเหมือนกลุ่มชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง แต่พบในภาคใต้
                  และพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ประกอบด้วย 11 กลุ่มชุดดิน ได้แก่ กลุ่มชุดดิน
                  26 27 32 34 39 42 43 45 50 51 และ 53

                          2.3.4 กลุ่มชุดดินที่มีความลาดชันสูง
                              พบในพื้นที่ภูเขาและเทือกเขา ที่มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 35 ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62

                        การวิเคราะห์หน่วยที่ดินเพื่อใช้ส าหรับการจัดท าเขตการใช้ที่ดินที่เหมาะสมส าหรับการปลูก
                  ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง จะมีหน่วยที่ดินที่มีการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อยู่ในปัจจุบันและหน่วยที่ดินที่มี
                  ศักยภาพและไม่มีศักยภาพส าหรับการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในฤดูแล้งทั้งในเขตชลประทานและนอกเขต

                  ชลประทาน ซึ่งเกษตรกรมีแหล่งน้ าส ารองสามารถปลูกพืชรอบ 2 ได้ หน่วยที่ดินที่ได้จากกการวิเคราะห์

                  2.4  ทรัพยากรน้ า

                        2.4.1 แหล่งน้ าตามธรรมชาติ
                            1) แหล่งน้ าในภาคเหนือ
                              น ้ำแม่กก มีความยาวประมาณ 130 กิโลเมตร ต้นน้ าเกิดในอ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่

                  และไหลผ่านจังหวัดเชียงรายไปลงแม่น้ าโขงที่อ าเภอเชียงแสน
                              น ้ำแม่ลำว มีความยาวประมาณ 117 กิโลเมตร ต้นน้ าเกิดในอ าเภอเวียงป่าเป้า จังหวัด
                  เชียงราย และไหลไปรวมกับน้ าแม่กก ทางด้านตะวันออกของจังหวัดเชียงราย
                              น ้ำแม่อิง มีความยาวประมาณ 270 กิโลเมตร ต้นน้ าเกิดในอ าเภอเมืองพะเยา จังหวัด

                  พะเยา และเกิดบริเวณบึงใหญ่หรือเรียกว่า กว๊านพะเยา จากบึงนี้น้ าแม่อิงไหลผ่านไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ
                  ผ่านอ าเภอเทิงไปลงแม่น้ าโขงที่อ าเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
                              แม่น ้ำปิง มีความยาวประมาณ 600 กิโลเมตร ต้นน้ าเกิดจากเทือกเขาตอนเหนือ
                  ของจังหวัดเชียงใหม่ไหลลงมาทางใต้ผ่านอ าเภอเชียงดาวบรรจบกับน้ าแม่งัดทางตอนเหนือของอ าเภอสันทราย

                  และไหลรวมกันลงมาบรรจบกับแม่น้ าแม่แตง ซึ่งมีต้นก าเนิดมาจากเทือกเขาเดียวกันทางทิศตะวันตก
                  ของอ าเภอแม่แตง แล้วไหลลงมาทางใต้บรรจบกับน้ าแม่กวง ต่อจากนั้นแม่น้ าปิงเริ่มเบนไปทาง
                  ทิศตะวันตกเฉียงใต้บรรจบกับน้ าแม่ขานทางฝั่งขวาและไปบรรจบกับน้ าแม่ลี้ทางฝั่งซ้ายที่อ าเภอ

                  จอมทองต่อจากนั้นแม่น้ าปิงเริ่มเบนตัวลงมาทางใต้อีกครั้งหนึ่งไปบรรจบกับน้ าแม่แจ่มในอ าเภอฮอด
                  และแม่น้ าปิงก็เริ่มไหลเข้าสู่ซอกเขาสูงผ่านมาในจังหวัดตากบรรจบกับน้ าแม่ตื่น ซึ่งต้นน้ ามีก าเนิด
                  จากเทือกเขาทางทิศตะวันตกของอ าเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และทางใต้ที่ต าบลบ้านนา อ าเภอสามเงา
                  จังหวัดตากโดยมีเขื่อนภูมิพลกั้นขวางล าน้ า แล้วแม่น้ าปิงไหลมาบรรจบกับแม่น้ าน่านที่จังหวัด
                  นครสวรรค์ และก าเนิดเป็นแม่น้ าเจ้าพระยา

                              แม่น ้ำวัง มีความยาวประมาณ 300 กิโลเมตร มีแหล่งก าเนิดบนเทือกเขาผีปันน้ า
                  และเทือกเขาขุนตาลในจังหวัดล าปาง ไหลผ่านอ าเภอแจ้ห่ม อ าเภอเมืองล าปาง อ าเภอเถิน ไปสู่ที่ราบ
                  จังหวัดตากและเข้ารวมกับแม่น้ าปิงที่อ าเภอบ้านตาก จังหวัดตาก แม่น้ าวังไม่มีล าน้ าสาขาขนาดใหญ่

                  เช่น แม่น้ าปิง แต่มีห้วยที่นับว่าใหญ่ส าหรับแม่น้ าวัง คือ น้ าแม่ตุ๋ยและน้ าแม่จาง ซึ่งไหลมารวมกับแม่น้ าวัง
                  ที่อ าเภอเกาะคา จังหวัดล าปาง





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง              กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23