Page 30 - longan
P. 30
2-18
ตารางที่ 2-4 พื้นที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตเฉลี่ยของล าไย จ าแนกรายภาค และแยกรายจังหวัด
10 ล าดับแรก ปี 2563
พื นที่ยืนต้น พื นที่ให้ผล ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ย
ภาค/จังหวัด
(ไร่) (ไร่) (ตัน) (กก./ไร่)
รวมทั งประเทศ 1,730,299 1,583,820 1,182,462 747
ภาคเหนือ 1,287,625 1,155,258 816,830 707
ภาคตะวันออก 391,582 382,879 330,841 864
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 34,117 30,965 18,315 591
ภาคกลาง 16,544 14,345 16,262 1,134
ภาคใต้ 431 373 214 575
เชียงใหม่ 451,723 406,183 342,543 843
ล าพูน 348,570 321,038 289,657 902
จันทบุรี 296,640 294,413 244,161 829
เชียงราย 246,135 219,137 95,428 435
พะเยา 96,780 79,737 31,716 398
สระแก้ว 82,256 77,120 76,592 993
น่าน 64,407 57,119 22,016 385
ตาก 29,903 29,811 17,840 598
ล าปาง 23,371 19,170 5,651 295
เลย 15,642 15,414 8,505 552
ที่มา: ดัดแปลงจากส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2564ก
2.6.2 การตลาด
ล าไยเป็นไม้ผลที่ตลาดมีความต้องการทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ
ผลล าไยเป็นที่นิยมบริโภคเนื่องจากมีรสหวานและให้พลังงานแก่ผู้บริโภค เนื้อล าไยมีปริมาณน้ าตาล
กลูโคส ฟรุคโตส และซูโครสสูง เมื่อรับประทานแล้วช่วยให้ร่างกายสดชื่นได้เร็ว นอกจากบริโภคผลสด
แล้วสามารถบริโภคผลิตภัณฑ์แปรรูปต่าง ๆ จากผลล าไยได้อีกด้วย ในแต่ละปีผลผลิตจะออกสู่ตลาดเป็น
ปริมาณมากเกินความต้องการตลาดภายในประเทศ โดยผลผลิตในฤดูประมาณร้อยละ 75 ของผลผลิต
ทั้งหมดจะออกสู่ตลาดในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม และผลผลิตที่เหลือประมาณร้อยละ 25 เป็น
ล าไยนอกฤดูซึ่งจะออกสู่ตลาดในช่วงเดือนตุลาคม-มีนาคม
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจล าไย กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน