Page 23 - longan
P. 23

2-11





                  2.5  การใช้ประโยชน์ที่ดิน


                        จากการศึกษาและวิเคราะห์การใช้ที่ดินส าหรับพืชเศรษฐกิจล าไยปี 2562 โดยกลุ่มวิเคราะห์
                  สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2563) พบว่า ประเทศไทยมี
                  เนื้อที่ปลูกล าไยทั้งหมดประมาณ 2,393,669 ไร่ หรือร้อยละ 0.75 ของเนื้อที่ทั้งหมดของประเทศ พบ
                  ปลูกมากที่สุดในภาคเหนือ รองลงมา ได้แก่ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และ

                  ภาคใต้ ตามล าดับ โดยมีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกล าไยทั้งในลักษณะที่ปลูกเป็นพืชเดี่ยว และ
                  ปลูกเป็นพืชผลผสม เนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่า 1,736,176 ไร่  หรือคิดเป็นร้อยละ 72.53 ของเนื้อที่ปลูก
                  ล าไยทั้งประเทศ และเนื้อที่ปลูกล าไยในเขตป่าไม้ตามกฎหมาย 657,493 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 27.47 ของ

                  เนื้อที่ปลูกล าไยทั้งประเทศ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 2-2 และรูปที่ 2-3)
                          ภาคเหนือ มีเนื้อที่ปลูกล าไยประมาณ 1,833,028 ไร่ หรือร้อยละ 76.58 ของเนื้อที่ปลูกล าไยทั้ง
                  ประเทศ ซึ่งสามารถจ าแนกได้เป็นเนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่า 1,253,993 ไร่ หรือร้อยละ 68.41
                  ของเนื้อที่ปลูกล าไยภาคเหนือ และเนื้อที่ปลูกล าไยในเขตป่า 579,035 ไร่ หรือร้อยละ 31.59 ของเนื้อที่

                  ปลูกล าไยภาคเหนือ โดยมีจังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่ามากที่สุด ได้แก่ เชียงใหม่ ล าพูน
                  และเชียงราย ตามล าดับ
                          ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ปลูกล าไยประมาณ 68,927 ไร่ หรือร้อยละ 2.88
                  ของเนื้อที่ปลูกล าไยทั้งประเทศ ซึ่งสามารถจ าแนกได้เป็นเนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่า 53,435 ไร่ หรือร้อย

                  ละ 77.52 ของเนื้อที่ปลูกล าไยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเนื้อที่ปลูกล าไยในเขตป่า 15,492 ไร่ หรือร้อย
                  ละ 22.48 ของเนื้อที่ปลูกล าไยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีจังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่ามาก
                  ที่สุด ได้แก่ เลย นครราชสีมา และหนองบัวล าภู ตามล าดับ
                          ภาคกลาง มีเนื้อที่ปลูกล าไยประมาณ 18,658 ไร่ หรือร้อยละ 0.78 ของเนื้อที่ปลูกล าไย

                  ทั้งประเทศ ซึ่งสามารถจ าแนกได้เป็นเนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่า 16,164 ไร่ หรือร้อยละ 86.63
                  ของเนื้อที่ปลูกล าไยภาคกลาง และเนื้อที่ปลูกล าไยในเขตป่า 2,494 ไร่ หรือร้อยละ 13.37 ของเนื้อที่
                  ปลูกล าไยภาคกลาง โดยมีจังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่ามากที่สุด ได้แก่ ราชบุรี สมุทรสาคร

                  และนครปฐม ตามล าดับ
                          ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ปลูกล าไยประมาณ 472,403 ไร่ หรือร้อยละ 19.73 ของเนื้อที่
                  ปลูกล าไยทั้งประเทศ ซึ่งสามารถจ าแนกได้เป็นเนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่า 412,038 ไร่ หรือร้อยละ
                  87.22  ของเนื้อที่ปลูกล าไยภาคตะวันออก และเนื้อที่ปลูกล าไยในเขตป่า 60,365 ไร่ หรือร้อยละ 12.78
                  ของเนื้อที่ปลูกล าไยภาคตะวันออก โดยมีจังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่ามากที่สุด ได้แก่ จันทบุรี

                  สระแก้ว และระยอง ตามล าดับ
                          ภาคใต้ มีเนื้อที่ปลูกล าไยประมาณ 653 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของเนื้อที่ปลูกล าไย
                  ทั้งประเทศ ซึ่งสามารถจ าแนกได้เป็นเนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่า 546 ไร่ หรือร้อยละ 83.61 ของเนื้อที่

                  ปลูกล าไยภาคใต้ และเนื้อที่ปลูกล าไยในเขตป่า 107 ไร่ หรือร้อยละ 16.39 ของเนื้อที่ปลูกล าไยภาคใต้
                  โดยมีจังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกล าไยนอกเขตป่ามากที่สุด ได้แก่ สงขลา ชุมพร และพัทลุง ตามล าดับ










                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจล าไย                                  กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28