Page 21 - longan
P. 21

2-9





                  2.4  ทรัพยากรน ้า


                        2.4.1 แหล่งน ้าตามธรรมชาติ
                            1) แหล่งน ้าในภาคเหนือ
                              สภาพภูมิประเทศในภาคเหนือมีลักษณะเป็นภูเขาซึ่งมีที่ราบแคบ ๆ คั่นอยู่ระหว่างภูเขา
                  ดังนั้นแหล่งน้ าภาคเหนือจึงเกิดจากภูเขาต่าง ๆ เหล่านั้น และไหลอยู่ระหว่างหุบเขาโดยมีทิศทางลงสู่

                  ที่ราบภาคกลางและแม่น้ าโขง ซึ่งจะประกอบด้วยแม่น้ าสายส าคัญ ได้แก่ น้ าแม่กก น้ าแม่ลาว น้ าแม่อิง
                  แม่น้ าปิง แม่น้ าวัง แม่น้ ายมความยาว และแม่น้ าน่าน
                            2) แหล่งน ้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                              ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแม่น้ าที่ส าคัญหลายสาย ได้แก่ แม่น้ าโขง เป็นแม่น้ าที่มี
                  สาขาที่เกิดจากแม่น้ าในประเทศหลายสายทั้งในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แม่น้ ามูล เป็น
                  แม่น้ าสายส าคัญของอีสานตอนล่าง แม่น้ าชี เป็นแม่น้ าสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย และแม่น้ าสงคราม
                            3) แหล่งน ้าในภาคกลาง

                              สภาพภูมิประเทศของภาคกลาง มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มกว้างใหญ่ ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นอู่ข้าว
                  อู่น้ าของประเทศไทย มีแม่น้ าที่ส าคัญ ได้แก่ แม่น้ าเจ้าพระยา แม่น้ าท่าจีน แม่น้ าน้อย แม่น้ าลพบุรี
                  แม่น้ าป่าสัก แม่น้ าแม่กลองแม่น้ าเพชรบุรี และแม่น้ าปราณบุรี
                            4) แหล่งน ้าในภาคตะวันออก

                              ภาคตะวันออก มีแม่น้ าที่ส าคัญหลายสาย ได้แก่ แม่น้ าบางปะกง แม่น้ าประแสร์ และ
                  แม่น้ าระยอง
                            5) แหล่งน ้าในภาคใต้
                              ภาคใต้ มีแม่น้ าที่ส าคัญหลายสาย ได้แก่ แม่น้ าท่าตะเภา แม่น้ ากระบุรี แม่น้ าหลังสวน

                  แม่น้ าคีรีรัฐ แม่น้ าตาปี แม่น้ าตรัง แม่น้ าปัตตานี แม่น้ าสายบุรี และแม่น้ าโก-ลก

                        2.4.2 โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดิน
                            โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินได้มีหน่วยงานต่าง ๆ ก่อสร้างโครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดิน
                  ประเภทต่าง ๆ จ านวนมาก ในที่นี้จะกล่าวถึงระบบชลประทานประเภทกักเก็บน้ าไว้ใช้ประโยชน์ ซึ่ง
                  ระบบชลประทานเป็นแนวทางหนึ่งที่ใช้แก้ปัญหาทางด้านปริมาณน้ าและช่วงเวลาการไหลของน้ าให้มี

                  ความเหมาะสมถูกต้องตามระยะเวลาและความต้องการ การปล่อยน้ าของระบบชลประทานจะขึ้นกับ
                  ปริมาณน้ าที่เก็บกักและพื้นที่ส่งน้ าสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมและความจ าเป็นของการ
                  ใช้น้ า

                            1) โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดินภาคเหนือ
                              โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคเหนือแบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ จ านวน
                  20 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 25,064 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 4,480,268 ไร่ โครงการ
                  ขนาดกลาง จ านวน 226 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 1,361.740 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน
                  2,590,366 ไร่ และโครงการขนาดเล็ก จ านวน 4,976 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 761.602 ล้านลูกบาศก์เมตร

                  พื้นที่ชลประทาน 3,054,871 ไร่







                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจล าไย                                  กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26