Page 219 - coffee
P. 219

3-109






                           3.2)  จัดใหมีระบบการปองกัน  รวมทั้งเตือนภัยและบรรเทาความเดือดรอนแก

                  ผูประสบภัยธรรมชาติ โดยนําระบบขอมูลภูมิสารสนเทศมาใชกําหนดพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเตือนภัยพิบัติ

                  ในพื้นที่ที่มีความเปราะบางหรือเสี่ยงภัยตอภัยพิบัติอันเกิดจากภาวะโลกรอน
                           3.3)  พัฒนาองคความรูในการบริหารจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและ

                  สิ่งแวดลอม  โดยการสงเสริมการวิจัยและพัฒนาที่ชุมชนและนักวิชาการในทองถิ่นมีสวนรวม  และที่

                  ภาคเอกชนสามารถนําไปใช  รวมทั้งสงเสริมการใชเทคโนโลยีที่ชวยใหเกิดการใชทรัพยากรและ

                  พลังงานอยางประหยัด
                           3.4)  ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

                  สรางจิตสํานึกในการอนุรักษและการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ  และจัดใหมีการใชระบบ

                  ประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมเชิงกลยุทธ เพื่อเปนกลไกกํากับใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน

                                 นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมนี้ มีเปาหมายในการดูแล
                  ทรัพยากรธรรมชาติเปนหลัก ซึ่งหากทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณแลว ก็ยอมสงผลดีตอ

                  การเพาะปลูกพืชโดยทั่วไป ลดปญหาเรื่องภัยธรรมชาติตอพืชผลในระยะยาว (สํานักเลขาธิการ

                  คณะรัฐมนตรี, 2552)

                          4)  พระราชบัญญัติมาตรฐานสินคาเกษตร พ.ศ. 2551

                            ประเทศไทยถือไดวามีศักยภาพในการผลิตและสงออกสินคาเกษตรสูง ดังนั้นจึงมีการ
                  กําหนดพระราชบัญญัติมาตรฐานสินคาเกษตร พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก 4.1) ขึ้น โดยมีคณะกรรมการ

                  มาตรฐานสินคาเกษตร (ภาคผนวก 4.2) เปนผูกําหนดระเบียบหรือแนวทางปฏิบัติในเรื่องที่เกี่ยวของ

                  กับคุณลักษณะของตัวสินคาเกษตร วิธีและขั้นตอนการผลิต รวมถึงการดําเนินการเกี่ยวกับสุขลักษณะ

                  ความปลอดภัย เปนการกําหนดรวมกันระหวางผูผลิตและผูบริโภค ทั้งนี้จะตองไดรับการยอมรับจาก
                  ทั้งสองฝาย เพื่อใหมาตรฐานถูกนํามาใชเปนบรรทัดฐานในการดําเนินการทางการผลิตสินคานั้นๆ



                        3.3.2  นโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
                             กระทรวงเกษตรและสหกรณมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการเกษตรกรรม ภายใตยุทธศาสตร

                  ของกระทรวงฯ ซึ่งประกอบดวย (1) ยุทธศาสตรขจัดความยากจน (2) ยุทธศาสตรการปรับโครงสราง

                  ภาคการเกษตร (3) ยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรเกษตร และ (4) ยุทธศาสตรการเพิ่มประสิทธิภาพ
                  ระบบการบริหารจัดการ (กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2548) และเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายตางๆ

                  ของรัฐบาล ทั้งในระยะยาวและนโยบายเรงดวน กระทรวงเกษตรและสหกรณจึงกําหนดยุทธศาสตรอื่นๆ

                  ซึ่งเกี่ยวของกับดานการเกษตร ดังนี้









                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224