Page 42 - beans
P. 42

2-26





                  11.01 ต่อปี โดยในปี 2564 ปริมาณคาดการณ์น าเข้า 89,387 ตัน ลดลงจาก 99,295 ตัน ในปี 2563

                  คิดเป็นร้อยละ 9.98 (สารสนสนเทศเศรษฐกิจการเกษตรรายสินค้า ปี 2564)


                  ตารางที่ 2-12  ปริมาณและมูลค่าการน้าเข้าเมล็ดถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสงของประเทศไทย

                              ปี 2560–2564

                                    ถั่วเขียว                ถั่วเหลือง                ถั่วลิสง
                            ปริมาณ  ปริมาณ          ปริมาณ                            ปริมาณ
                                                           ปริมาณ
                      ปี     การใช้  การ   มูลค่า   การใช้  การน้าเข้า   มูลค่า   ปริมาณการ  การ  มูลค่า
                                                                              ใช้ทั งหมด
                            ทั งหมด    น้าเข้า      ทั งหมด                           น้าเข้า
                                (ตัน)      (บาท)        (ตัน)        (บาท)        (ตัน)       (บาท)
                     2560   100,908   20,892   578,250,000   2,828,090   2,745,687   39,837,924,555   126,091   61,414   2,416,570,000
                     2561    93,930   22,377   490,640,000   2,807,680   2,722,968   37,324,843,835   138,839   70,726   2,331,210,000
                     2562   102,336   26,617   674,240,000   3,271,000   3,209,277   39,512,689,801   124,465   95,018   2,366,790,000
                     2563   128,608   37,105   1,068,980,000   4,116,388   4,044,716   50,493,207,257   127,812   99,295   2,282,150,000
                     2564   127,598   50,935   1,313,980,000   4,248,765   4,179,866   59,945,032,492   113,498   89,387   2,002,900,000
                     เฉลี่ย   138,345   39,482   1,031,522,500   4,317,981   4,225,628   56,778,424,485   157,676   103,960   2,849,905,000
                    อัตราการ
                   เปลี่ยนแปลง  6.73   25.68   25.93   11.21   11.60   11.52   -2.19   11.01   -4.45
                    เฉลี่ย (%)
                  ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2565)


                        2.5.5 การใช้ประโยชน์และการแปรรูป
                            ถั่วเขียว เป็นพืชที่อุดมไปด้วยวิตามินอี ซึ่งเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระและเป็นแหล่ง

                  โปรตีนและคาร์โบไฮเดรต สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้แทบทุกส่วน โดยเมล็ดใช้เป็นอาหารของมนุษย์

                  และสัตว์ ส่วนล าต้นและเปลือกที่เหลือสามารถน ามาไถกลบลงดินเพื่อช่วยบ ารุงดินให้สมบูรณ์ยิ่งขึ น ถั่วเขียว
                  สามารถน ามาแปรรูปและใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลาย ได้แก่

                        - อุตสาหกรรมอาหาร ใช้เพาะถั่วงอก หรือใช้ท าแป้งถั่วเขียว ท าวุ้นเส้น ท าซาหริ่ม หรือท าขนมต่าง ๆ

                        - อุตสาหกรรมเครื่องส าอาง ท าสบู่ถั่วเขียว ผงถั่วเขียวขัดผิว
                        - กากถั่วเขียวเหลือจากโรงงานผลิตวุ้นเส้น น ามาท าอาหารสัตว์ หรือใช้ท าปุ๋ยอินทรีย์

                            ถั่วเหลือง เมล็ดถั่วเหลืองเป็นปัจจัยส าคัญในการแปรรูปเชิงอุตสาหกรรมที่ส าคัญหลาย

                  ประเภท และมีคุณค่าในการบริโภค ถั่วเหลืองพันธุ์ที่ปลูกส าหรับการค้าส่วนใหญ่มีองค์ประกอบที่ส าคัญ
                  คือ โปรตีนร้อยละ 38–42 และน  ามันร้อยละ 18–22 ส่วนที่เหลือ คือ คาร์โบไฮเดรต องค์ประกอบ

                  เหล่านี สามารถน าไปใช้ประโยชน์และแปรรูปได้หลากหลาย (ส านักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร
                  (องค์กรมหาชน), ม.ป.ป.; สุรัสวดี, 2552) ได้แก่

                          - ผลิตอาหารมนุษย์และอาหารสัตว์

                          - อุตสาหกรรมสกัดน  ามัน ตามกรรมวิธีการผลิตน  ามันถั่วเหลือง ซึ่งมี 2 ขั นตอนหลัก คือ
                  ขั นตอนการสกัดน  ามันถั่วเหลืองดิบ และขั นตอนการกลั่นน  ามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจพืชตระกูลถั่วฤดูแล้ง (ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง)            กองนโยบานและแผนการใช้ที่ดิน
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47