Page 43 - beans
P. 43

2-27





                        - ท าพันธุ์ เมล็ดถั่วเหลืองสูญเสียความสามารถการงอกเร็วมาก เมื่อเก็บไว้ข้ามปีจะเหลืออัตรา

                  การงอกไม่เกินร้อยละ 50 ซึ่งเป็นปัญหาส าคัญส าหรับเกษตรกรที่จะปลูกถั่วเหลืองในฤดูกาลถัดไป

                  ยกเว้นเกษตรกรที่สามารถปลูกถั่วเหลืองได้ทั งฤดูฝนและฤดูแล้ง ซึ่งสามารถน าเมล็ดพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวจาก
                  ฤดูหนึ่งไปเป็นเมล็ดพันธุ์ส าหรับปลูกในอีกฤดูหนึ่งได้ หรือเกษตรกรที่สามารถหาซื อเมล็ดพันธุ์จากท้องที่

                  หรือจังหวัดข้างเคียงที่ปลูกต่างฤดูได้ แต่อย่างไรก็ดี เมล็ดพันธุ์เหล่านี จัดเป็นเมล็ดพันธุ์ที่ดีไม่ได้ เพราะ

                  อาจจะมีีหลายพันธุ์ปนกัน หรือมีเมล็ดเสีย เมล็ดเป็นโรคปะปน
                        - กากถั่วเหลืองเป็นแหล่งโปรตีนจากพืชที่มีคุณภาพสูงสุด มีกรดอะมิโนจ าเป็นหลายตัว แต่มี

                  Cystine และ Methionine ในระดับต่ า โดยเฉพาะ Methionine มีน้อยมากจึงถูกจัดเป็น First limiting
                  amino acid เมล็ดถั่วเหลืองมีโปรตีนประมาณร้อยละ 38 ไขมัน ร้อยละ 15–21 แต่เมื่อสกัดเอาน  ามัน

                  ออกแล้วจะมีโปรตีนเฉลี่ยร้อยละ 44 อาจถึงร้อยละ 50 ขึ นอยู่กับวิธีการสกัดน  ามันและขนาดของเมล็ด

                  ในทางการค้าแบ่งกากถั่วเหลืองออกเป็น 2 เกรด คือ กากถั่วเหลืองร้อยละ 44 คือ กากถั่วเหลืองที่มี
                  เปลือกผสมอยู่ด้วย และกากถั่วเหลืองร้อยละ 48 คือ กากถั่วเหลืองที่กะเทาะเอาเปลือกออก ไม่มีส่วน

                  ของเปลือกปนมาเลย (สุภาพรรณ และคณะ, ม.ป.ป.)
                        - ถั่วเหลืองมีประโยชน์ในการใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์บ ารุงดิน พืชตระกูลถั่วจัดเป็นพืชบ ารุงดิน เมื่อไถ

                  กลบถั่วเหลืองลงในดินจะเป็นปุ๋ยอินทรีย์ที่ดี ท าให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์และมีคุณสมบัติที่ดีขึ น โดยราก

                  ของถั่วเหลืองจะมีปมที่มีเชื อแบคทีเรียไรโซเบียมที่สามารถดูดไนโตรเจนให้มาอยู่ในรูปของสารประกอบ
                  ซึ่งพืชสามารถใช้เป็นปุ๋ยได้ ดังนั น เมื่อเก็บเกี่ยวถั่วเหลืองแล้ว ใบ ล าต้น เปลือก ไถกลบลงสู่ดิน รวมทั ง

                  รากและปมที่ตกค้างในดิน จะกลายเป็นปุ๋ยอินทรีย์ที่ดีของพืชชนิดอื่นที่จะปลูกหมุนเวียนต่อไป ในส่วน

                  ของเปลือกถั่วเหลืองสามารถใช้เพาะเห็ดที่เรียกว่าเห็ดถั่วเหลือง น ามาปรุงอาหารรับประทานได้
                            ถั่วลิสง มีประโยชน์ทางโภชนาการสูงและเป็นแหล่งของโปรตีนและพลังงาน รวมถึงมี

                  กรดอะมิโนอีกหลายชนิดที่จ าเป็นต่อร่างกาย ใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารคาวหวานต่าง ๆ ดังนี
                        - เพาะเป็นถั่วงอกได้เช่นเดียวกับถั่วเขียว

                        - ใช้แทนน  ามันมะกอกเพื่อปรุงอาหาร มีคุณสมบัติช่วยลดคอเลสเตอรอล และไม่ท าให้เสี่ยงต่อ

                  การเกิดอนุมูลอิสระ
                        - ถั่วลิสงมีน  ามันประมาณร้อยละ 47 จึงนิยมน าเมล็ดของถั่วของลิสงไปใช้ในอุตสาหกรรมสกัด

                  น  ามัน ใช้ในอุตสาหกรรมท าสบู่ หรือแชมพู อุตสาหกรรมปั่นด้าย
                        - ใช้ท าน  ามันหล่อลื่นส าหรับเครื่องจักรได้อีกทางด้วย

                        - ส่วนของล าต้นและใบสามารถน าไปท าปุ๋ยหรือใช้เลี ยงสัตว์เคี ยวเอื องได้ เช่น วัว แพะ แกะ เป็นต้น

                        - กากที่เหลือจากการสกัดน  ามันสามารถน ามาใช้เป็นอาหารสัตว์ได้ดี
                        - ส่วนเปลือกฝักใช้ท าเป็นปุ๋ยหมัก ใช้เพาะเห็ด ท าเชื อเพลิง ใช้คลุมดินปลูกต้นไม้ หรือใส่ใน

                  กระถางต้นไม้เพื่อเป็นปุ๋ยและรักษาความชื น หรือน ามาใช้ผสมกับกากน  าตาลเพื่อใช้เป็นอาหารวัว






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจพืชตระกูลถั่วฤดูแล้ง (ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง)            กองนโยบานและแผนการใช้ที่ดิน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48