Page 9 - การใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง การเป็นดินกรดและดินเค็ม ภาคกลางของประเทศไทย
P. 9
3
1.5 สมมติฐานของการศึกษา
1.5.1 ค่าสะท้อนแสงและคาดัชนีพืชพรรณจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมของวัตถุที่ต่างกันมีค่าที่ต่างกัน
1.5.2 พืชชนิดเดียวกันที่เจริญเติบโตในสภาพดินที่ต่างกันมีการเจริญเติบโตต่างกัน และมีค่าสะท้อน
แสง และคาดัชนีพืชพรรณที่ต่างกัน
1.5.3 ค่าสะท้อนแสงและคาดัชนีพืชพรรณของพืชมีความสัมพันธกับการเจริญเติบโตและความ
สมบูรณ์ของพืช
1.6 ขั้นตอนการด าเนินการ
การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาศักยภาพในการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีส ารวจระยะไกลที่ได้จาก
ภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดปานกลาง Sentinel-2 เพื่อวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินและสร้างฐานข้อมูล
ลายเซ็นต์เชิงคลื่นโดยการค านวณดัชนีพืชพรรณ และศึกษาความสัมพันธ์กับข้อมูลสมบัติทางเคมีดินที่ได้
จากการสุ่มเก็บภาคสนามโดยขั้นตอนและวิธีการมีรายละเอียดดังนี้
1.6.1 อุปกรณ์
1. แผนที่เชิงเลขและฐานข้อมูลภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร
2. แผนที่เชิงเลขและฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ขอบเขตการปกครองจากกรมการปกครอง
3. แผนที่เชิงเลขและฐานข้อมูลชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000 กรมพัฒนาที่ดิน
4. แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน มาตราส่วน 1:25,000 กรมพัฒนาที่ดิน
5. ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel-2
6. โปรแกรมประมวลผลด้านเทคโนโลยีส ารวจระยะไกล
7. โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
8. โปรแกรมวิเคราะห์ทางด้านสถิติ
9. เครื่องมือระบุพิกัดของพื้นที่ (GPS)
10. เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และคอมพิวเตอร์พกพา
11. จอบ เสียมและเครื่องมือเจาะเก็บตัวอย่างดิน
12. ถุงพลาสติกเก็บตัวอย่างดินและยางรัด
13. กล้องถ่ายภาพดิจิทัล
1.6.2 วิธีการด าเนินการศึกษา
1) การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.1) รวบรวมและตรวจสอบเอกสารทั้งในรูปของแผนที่ และรายงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อน า
ข้อมูลดังกล่าวมาก าหนดแผนการด าเนินงาน
1.2) การเตรียมข้อมูลดาวเทียม เนื่องจากข้อมูลจากดาวเทียม Sentinel -2 ที่ใช้ในการ
ปฏิบัติงานมีทั้งข้อมูลเชิงเลข (digital data) และ ข้อมูลเชิงภาพ (analog data) การเตรียมข้อมูลดาวเทียม
มีขั้นตอนการด าเนินการดังนี้