Page 14 - การใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง การเป็นดินกรดและดินเค็ม ภาคกลางของประเทศไทย
P. 14
8
2.1.2) การเก็บข้อมูลภาคสนาม ท าการเก็บข้อมูลทั้ง 3 อ าเภอ 1 ครั้ง
ในเดือนมีนาคม 2564 ได้แก่
1) การส ารวจตรวจสอบรายละเอียดสภาพการใช้ที่ดินภาคสนาม
ในพื้นที่จริง พร้อมแก้ไขรายละเอียดให้มีความถูกต้องตรงกับสภาพปัจจุบัน
2) เก็บตัวอย่างดินแปลงละ 3 จุดแล้วน ามาคลุกเคล้ารวมกันแล้ว
ส่งห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ดิน ภาคปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อวิเคราะห์ค่า
ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) โดยใช้การวิเคราะห์แบบ 1:1 ค่าการน าไฟฟ้า (EC) โดยใช้การวิเคราะห์แบบ
EC 1:5 และ ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM)
3) น าเข้าข้อมูลภาคสนามและการสร้างฐานข้อมูลสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ (GIS database) เป็นการจัดท าข้อมูลทั้งเชิงพื้นที่ (Spatial data) และข้อมูลเชิงคุณลักษณะ
(Attribute data) ของข้อมูลจากภาคสนาม และข้อมูลแผนที่จากส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยการน าเข้าในระบบ
สารสนเทศด้วยโปรแกรมวิเคราะห์และประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดังนี้
3.1) การสร้างฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ เป็นการน าเข้าข้อมูลในรูปแผน
ที่
ซึ่งมีค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์เพื่อใช้วิเคราะห์และประมวลผลเชิงพื้นที่
3.2) การสร้างฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ เป็นการน าเข้าข้อมูลด้าน
คุณลักษณะต่างๆ ของแผนที่และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเชิงพื้นที่ เช่น ประเภทการใช้ที่ดิน เนื้อที่ ค าอธิบายต่างๆ
เป็นต้นเพื่อท าให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั้ง 2 ประเภท เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และประมวลผล
ในระบบสารสนเทศต่อไป
4) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลค่าการสะท้อนแสงกับข้อมูล
ภาคสนาม โดยใช้สมการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ regression model โดยพิจารณาค่าความสัมพันธ์จากค่า
p-value และ r-square โดยใช้โปรแกรมประมวลผลทางสถิติ
5) สรุปผลและจัดท ารายงาน