Page 10 - การใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง การเป็นดินกรดและดินเค็ม ภาคกลางของประเทศไทย
P. 10

4






                                             1.2.1) ดาวน์โหลดข้อมูลและเตรียมข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel 2 ชนิด
                       COPERNICUS/S2 บริเวณ อ าเภอก าแพ งแสน อ าเภอบางเลน และอ าเภอบางเลน ผ่ าน
                       https://code.earthengine.google.com/ ซึ่งค่าที่ได้จะค่าเฉลี่ยรายเดือน เพื่อใช้ในการศึกษาค่าการสะท้อน
                       แสง ลายเซ็นเชิงคลื่น และความสัมพันธ์กับสมบัติทางเคมีดินโดยใช้ค าสั่ง

                                   var sentinel2 = ee.ImageCollection("COPERNICUS/S2");
                                   //var StudyArea = ee.FeatureCollection("geometry");
                                   var StudyArea = ee.FeatureCollection("users/totsanatrtk/StudyArea");
                                   // Filter the image collection using filterBounds() and filterDate() method.

                                   // Sort the collection by cloud cover metadata
                                   // Create the mosaic image and clip it to Study Area boundary
                                   var image_dry = sentinel2
                                                     .filterBounds(Phashe)

                                                     .filterDate('2021-03-01', '2021-03-31')
                                                     .sort('CLOUDY_PIXEL_PERCENTAGE', false)
                                                     .mosaic()

                                                     .clip(StudyArea);
                                             1.2.2) เตรียมข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมโดยการค านวณค่าดัชนีพืชพรรณ 3
                       ชนิด ได้แก่ ดัชนี NDVI ดัชนี GNDVI และ ดัชนี NDII ผ่าน https://code.earthengine.google.com/
                       โดยใช้ค าสั่ง
                                   var ndvi = image_dry.normalizedDifference(['B8', 'B4']);

                                   var gndvi= image_dry.normalizedDifference (['B8', 'B3']);
                                   var ndii = image_dry.normalizedDifference(['B8', 'B11']);
                                         1.3) การเตรียมฐานข้อมูลแผนที่การใช้ที่ดินและข้มูลชุดดินส าหรับพื้นที่ศึกษา โดย

                       ใช้ข้อมูลแผนที่การใช้ที่ดินซ้อนทับกับแผนที่ชุดดิน โดยวิธี identity ในโปรแกรม GIS
                                      2) การคัดเลือกแปลงศึกษา
                                         2.1) คัดเลือกพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีพืชปกคลุมในอ าเภอก าแพงแสนและ
                       อ าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม และอ าเภอปากพลี จังหวัดนครนายก โดยการคัดเลือกแปลงศึกษามี

                       ขั้นตอนดังนี้
                                               2.1.1) คัดเลือกแปลงศึกษาโดยการสุ่มเลือกแบบจ าเพาะเจาะจงตามการใช้
                       ประโยชน์ที่ดินและชุดดิน และเลือกแปลงที่มีขนาด 10-50 ไร่ เพื่อให้ได้แปลงที่มีความแปรปรวนของ
                       ข้อมูลน้อยที่สุด โดยสุ่มให้กระจายทั่วทั้งอ าเภอ เป็นไปตามสัดส่วนของประเภทการใช้ที่ดินและชุดดิน

                       ได้แก่ อ าเภอก าแพงแสน (ตารางที่  1 และ ภาพที่ 1) สามารถจัดกลุ่มได้ 6 ประเภทการใช้ที่ดิน และ
                       6 ชุดดิน รวมแปลงศึกษาทั้งหมด 60 แปลง อ าเภอบางเลน (ตารางที่ 2 และ ภาพที่ 2) สามารถจัดกลุ่มได้
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15