Page 71 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 71

3-21





                             หนวยที่ดินที่มีคันนา (M3) คือหนวยที่ดินในพื้นที่ดอนที่มีการทำการทำคันนาเพื่อปลูกขาว

                             หนวยที่ดินที่มีการพูนโคน (M4) คือหนวยที่ดินในพื้นที่ลุมที่มีการทำการเกษตรโดยการ
                  ปลูกพืชไร พืชไรหมุนเวียน หรือพืชสวน
                                                                                                      ิ
                             ซึ่งหนวยที่ดินดังกลาว สามารถจำแนกเปนประเภทกลุมดินตามลักษณะและสมบัติดน
                                               ้
                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-28) โดยในพนทีขอบเขตพื้นที่การผลิตสมโอนครชัยศรีตามประกาศฯ พบวา กลุม
                                                  ่
                                               ื
                  ดินเหนียวมีเนื้อที่ 132,525 ไร ซึ่งเปนกลุมดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดในพื้นที่ดังกลาว โดยคิดเปนรอยละ
                  38.06 ของพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินที่มีการยกรอง มีเนื้อที่ 73,454 ไร (รอยละ 21.09)
                  กลุมดินริมแมน้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด มีเนื้อที่ 490 ไร (รอยละ 0.14) และกลุมดินเปรี้ยวจัด มีเนื้อท  ี ่

                  92 ไร (รอยละ 0.03)
                                                                                              
                                             ี
                             ชุดดินที่พบในพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตสมโอนครชัยศรีตามประกาศฯ ไดแก ชุดดินบาง
                                             ่
                  เลน (Bl) ชุดดินบางเขน (Bn) ชุดดินดำเนินสะดวก (Dn) ชุดดินธนบุรี (Tb) ชุดดินบางกอก (Bk) ชุดดน
                                                                                                      ิ
                  กำแพงแสน (Ks) และชุดดินอยุธยา (Ay) (รายละเอียดดังรูปที่ 3-29)
                             จากการวิเคราะหขอมูลการใชที่ดินจังหวัดนครปฐม ป 2562 และจากการสำรวจพื้นท ี ่
                  พบวา สมโอนครชัยศรี สวนใหญปลูกอยูบนชุดดินธนบุรี (Tb) มากที่สุด รองลงมาคือ ชุดดินบางเลน (Bl)
                  ชุดดินบางเขน (Bn) และชุดดินดำเนินสะดวก (Dn)
                             ซึ่งลักษณะและสมบัติของชุดดินธนบุรี (Tb) ที่ปลูกสมโอนครชัยศรีนั้นมีลักษณะเปนดินลึก

                  มาก ดินบนเปนดินเหนียว สีดำ พบจุดประสีน้ำตาลแก ดินลางตอนบนเปนดินเหนียวสีเทาหรือสีเทาเขม
                                                                                                      
                                                                                               ี
                                                                                               ่
                  และดินลางเปนดินเลนสีเทาปนเขียวหรือสีน้ำเงิน พื้นที่เพาะปลูกสมโอนครชัยศรีมีสภาพพื้นทราบเรียบ
                                                                                   ี
                                                                                                   ุ
                  ดินมีการระบายน้ำเลว มีการจัดการโดยการยกรองเพอปลูกสมโอ ชุดดินธนบุรีมปริมาณอนทรียวัตถและ
                                                                                           ิ
                                                             ื่
                  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชในดินอยูในระดับปานกลาง  แตมปริมาณโพแทสเซียมเปน
                                                                                  ี
                  ประโยชนตอพืชในดินอยูในระดับสูง ซึ่งเปนประโยชนตอการสรางความหวานใหแกสมโอนครชัยศรี
                             ลักษณะและสมบัติของชุดดินบางเลน (Bl) ที่ปลูกสมโอนครชัยศรีนั้นมีลักษณะเปนดินลึก
                  ดินบนเปนดินเหนียวปนทรายแปง สีดำหรือสีเทา ดินลางตอนบนเปนดินเหนียว สีเทาปนน้ำตาลออนสี
                  เทาหรือสีเทาปนเขียวมะกอก มีจุดประสีน้ำตาลปนเขียวและสีน้ำตาลปนเหลือง ดินลางตอนลางเนื้อดน
                                                                                                      ิ
                  เปนดินเหนียว สีเทาปนน้ำตาลหรือสีน้ำตาลปนเทา  มีจุดประสีน้ำตาลปนเหลือง และในดนลางลึกลงไป
                                                                                           ิ
                  จะพบดินเลนสีน้ำเงิน มักจะพบรอยถูไถและผลึกยิปซัม พื้นที่เพาะปลูกสมโอนครชัยศรีมีสภาพพื้นท ี ่
                                                                                                      ิ
                  ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ดินมีการระบายน้ำเลว มีการจัดการโดยการยกรองเพื่อปลูกสมโอ ชุดดน
                          ี
                  บางเลนมปริมาณอินทรียวัตถคอนขางสูง มปริมาณฟอสฟอรัสและปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน
                                          ุ
                                                      ี
                  ตอพืชในดินอยูในระดับสูง ซึ่งเปนธาตุอาหารที่สำคัญและเปนประโยชนตอการปลูกสมโอนครชัยศรีเปน
                                                                              
                               
                  อยางมาก
                             ลักษณะและสมบัติของชุดดินบางเขน (Bn) ที่ปลูกสมโอนครชัยศรีนั้นมีลักษณะเปนดินลึก
                  ดินบนเปนดินเหนียว สีเทาเขมมีจุดประสีน้ำตาลปนเหลือง ดินบนเปนดินเหนียวสีเทาถึงสีเทาปนน้ำตาล
                  ออนจุดประสีน้ำตาลแก สีเทาเขมหรือสีดำ มีจุดประสีน้ำตาลแกหรือสีแดงปนเหลือง ดินลางตอนลาง
                  เปนดินเหนียว สีน้ำตาลปนเทาหรือสีเทา มีจุดประสีเหลืองปนน้ำตาลและสีแดง ดินชั้นลางลึกลงไปจะ
                  พบดินเลนสีน้ำเงิน มักจะพบรอยถูไถและผลึกยิปซัม พื้นที่เพาะปลูกสมโอนครชัยศรีมีสภาพพื้นท ี ่

                                                                                        ่
                  ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ดินมีการระบายน้ำเลว มีการจัดการโดยการยกรองเพือปลูกสมโอ ชุดดิน




                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76