Page 76 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 76

3-26


                     3.2.2  พริกบางชาง
                                          
                                                                  ั
                                                                                                        ิ
                                                                       ี่
                           จากการวิเคราะหขอมูลการสำรวจดินของกรมพฒนาทดิน มาตราสวน 1:25,000 (กองสำรวจดน
               และวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลการใชที่ดินจังหวัดราชบุรี (กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน, 2564)
               ขอมูลการใชที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม (กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน, 2562) ขอมูลพื้นที่ชลประทาน
               (กรมชลประทาน, 2560) ขอมูลผลวิเคราะหดิน (Lab analysis) ของชุดดินในประเทศไทย (Soil series) (กอง
                                                                                                        ู
               สำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลขอบเขตการปกครอง (กรมการปกครอง, 2556) และขอมล
                                                          ่
                                                            
                          ี่
                                                          ี
               ขอบเขตพื้นทการผลิตพืชบงชี้ทางภูมศาสตร (GI) ทอยูในประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สามารถจัดทำ
                                              ิ
               หนวยที่ดินไดทั้งสิ้น 30 หนวยที่ดิน (ตารางภาคผนวกที่ 2) แบงเปน หนวยที่ดินในพื้นที่ลุม 28 หนวยที่ดิน ม ี
                                                           ่
               เนื้อที่ 190,410 ไร คิดเปนรอยละ 67.89 ของพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตพริกบางชางตามประกาศฯ ไดแก
                                                           ี
               หนวยที่ดินลุมทั่วไป หนวยที่ดินลุมที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินที่มีการยกรอง (M2) และหนวยทดินท ี่
                                                                                                      ี่
               มีการยกรองและอยูในเขตชลประทาน (IM2) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน 2 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 341 ไร คิดเปน
               รอยละ 0.12 ของพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตพริกบางชางตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินดอนที่อยูในเขต
                                   ี
                                   ่
                                                                                       ี่
                                                                                                   ่
                                                                                                   ี
               ชลประทาน (I) และหนวยเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 89,745 ไร คิดเปนรอยละ 31.99 ของพื้นทขอบเขตพนทการผลิต
                                                                                                ื
                                                                                                ้
               พริกบางชางตามประกาศฯ ไดแก พื้นที่เลี้ยงสัตวน้ำ พื้นที่ปาชายเลน พื้นที่บอขุด พื้นที่น้ำ และพื้นทชุมชนและ
                                                                                                 ี่
                                      ั
                                                               ่
                                                                                                 ่
                                                                                                     ่
               สิ่งปลูกสราง (รายละเอียดดงรูปที 3-14) โดยหนวยที่ดินทีมการยกรอง (M2) คือหนวยท่ดินในพื้นทีลุมทีมีการ
                                                                 ี
                                                                                        ี
                                           ่
                                                                                                   ี่
                                                                                                    ี
               ทำการเกษตรโดยการปลูกไมยืนตนหรือไมผล หนวยที่ดินที่มีคันนา (M3) คือหนวยที่ดินในพนทดอนทมการทำ
                                                                                             ี่
                                                                                          ื้
                                                 ี
                                                                           ิ
                                                                                   ่
               การทำคันนาเพื่อปลูกขาว หนวยที่ดนที่มการพูนโคน (M4) คือหนวยที่ดนในพื้นทีลุมที่มีการทำการเกษตรโดย
                                             ิ
               การปลูกพืชไรพืชไรหมุนเวียน หรือพืชสวน
                           ซึ่งหนวยที่ดินดังกลาว สามารถจำแนกเปนประเภทกลุมดินตามลักษณะและสมบัติดิน
               (รายละเอียดดังรูปที่ 3-31) โดยในพนทีขอบเขตพื้นที่การผลิตพริกบางชางตามประกาศฯ พบวา กลุมดินที่ม ี
                                                ่
                                              ื
                                              ้
               การยกรองมีเนื้อที่ 156,829 ไร ซึ่งเปนกลุมดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดในพื้นที่ดังกลาว โดยคิดเปนรอยละ 55.91
               ของพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 27,768 ไร (รอยละ 9.90) กลุมดินเปรี้ยวจัด
               มีเนื้อที่ 5,509 ไร (รอยละ 1.97) กลุมดินริมแมน้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด มีเนื้อที่ 341 ไร (รอยละ 0.12)
               กลุมดินรวนหยาบ มีเนื้อที่ 274 ไร (รอยละ 0.10) และกลุมดินเลนชายทะเล มีเนื้อที่ 30 ไร (รอยละ 0.01)
                                          ี่
                                       ื้
                           ชุดดินที่พบในพนทขอบเขตพนทการผลิตพริกบางชางตามประกาศฯ ไดแก ชุดดนดำเนินสะดวก
                                                                                            ิ
                                                                                        
                                                     ่
                                                     ี
                                                   ื
                                                   ้
               (Dn) ชุดดินสมุทรสงคราม (Sso) ชุดดินธนบุรี (Tb) ชุดดินบางแพ (Bph) ชุดดินบางกอก (Bk)
               ชุดดินอยุธยา (Ay) ชุดดินทามวง (Tm) ชุดดินสรรพยา (Sa) ชุดดินบางเขน (Bn) ชุดดินบางเลน (Bl) ชุดดิน
               ราชบุรี (Rb) และชุดดินทาจีน (Tc) (รายละเอียดดังรูปที่ 3-16) จากการวิเคราะหขอมูลการใชที่ดินจังหวัด
                                                                                             ี่
               ราชบุรี ป 2564 ขอมูลสภาพการใชทดินจังหวัดสมทรสงคราม ป 2562 และจากการสำรวจพื้นทพบวา พริกบาง
                                             ี่
                                                        ุ
               ชางปลูกอยูบนชุดดินดำเนินสะดวก (Dn)
                                                                        ่
                           ซึ่งลักษณะและสมบัติของชุดดินดำเนินสะดวก (Dn) ทีปลูกพริกบางชางนั้นมีลักษณะเปนดินลึก
               มาก ดินบนเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีเทาเขมถึงสีดำ มีจุดประสีน้ำตาลปนเหลือง ดินลาง
               เปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง เปนสีเทาออนปนเขียวมะกอก และพบเปลือกหอยปะปนอยูจำนวน
               มาก ที่ความลึกมากกวา 150 ซม. ดินจะมีสีเทาปนเขียว พื้นที่เพาะปลูกพริกบางชางมีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดิน
               มีการระบายน้ำคอนขางเลว มีการจัดการโดยการยกรองเพื่อปลูกพริกเพื่อระบายน้ำ ใหน้ำไหลเวียนสม่ำเสมอ
               ซึ่งจะทำใหพริกมีเนื้อหนา โคนผลใหญ ปลายเรียว ผิวเรียบมัน ผลแกมีสีแดงจัด และรสชาติไมเผ็ดจนเกินไป
               พริกบางชางสวนใหญปลูกผสมกับพืชชนิดอื่น ๆ เชน มะนาว และมะละกอ เปนตน ชุดดินดำเนินสะดวกม ี
               ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัส และปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนตอพืชในดินอยูในระดับสูง
                                       
               แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81