Page 70 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 70

3-20





                             5) วิถีการตลาดมะพราวน้ำหอมบานแพว

                                                              ี
                                เกษตรกรผูปลูกมะพราวน้ำหอมมีวิถการขายผลผลิต 3 ทาง คือ
                                                                                          ิ
                                   (1) เจาของดำเนินการทงหมด คือ ตัดผลผลิตเองและนำไปสงเอง คดเปนรอยละ 1
                                                       ั้
                                   (2) จางคนมาตัด เจาของขายเอง คิดเปนรอยละ 4
                                       
                                   (3) พอคาดำเนินการเองทั้งหมด คิดเปนรอยละ 95
                                           ี
                                           ่
                                โดยผลผลิตทไดเกษตรกรจำหนายเปนมะพราวผลสด คดเปนรอยละ 80 มะพราวแปรรูป
                                                                            ิ
                                             
                  คิดเปนรอยละ 15 และเปนตนพันธุ คิดเปนรอยละ 5 โดยที่ผลผลิตมะพราวน้ำหอมสวนใหญขายให
                  พอคาคนกลาง และบริษัทในพื้นที่เพื่อจำหนายและแปรรูปสงขายทั้งในประเทศและตางประเทศ
                             6) วิถีการตลาดลำไยพวงทองบานแพว
                                ผลผลิตลำไยพวงทองเปนที่ตองการของตลาดทั้งภายในประเทศและตางประเทศ
                              ี
                                                                                                ึ
                  โดยประเทศท่มีการนำเขาผลผลิตลำไยพวงทอง ไดแก สิงคโปร มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซ่งผลผลิต
                                                  ื
                   ่
                                                                ี
                                                                                                  ั
                                     
                  ทีออกสูตลาดสวนใหญจะอยูในชวงเดอนมกราคมถึงมนาคม คิดเปนรอยละ 65 ของผลผลิตท้งหมด
                  ที่ออกสูตลาดทั้งป ทั้งนี้ผลผลิตลำไยพวงทองของจังหวัดสมุทรสาครจะใชภายในจังหวัด คิดเปนรอยละ 15
                  และใชนอกจังหวัด คิดเปนรอยละ 85 โดยมีตลาดกระจายสินคาที่สำคัญภายจังหวัดจำนวน 3 แหง คือ
                                                         ื
                  ตลาดมหาชัย ตลาดทะเลไทย และตลาดมหาชัยเมองใหม ในสวนของตลาดกระจายสินคาทสำคญนอกจังหวัด
                                                                                            ั
                                                                                         ี
                                                                                      
                                                              
                                                                                         ่
                   ี
                  มจำนวน 4 แหง คือ ตลาดไท ตลาดสี่มุมเมือง ตลาดศรีเมือง และตลาดปฐมมงคล
                  3.2   การวิเคราะหและจัดทำหนวยที่ดิน
                        3.2.1 สมโอนครชัยศรี
                             จากการวิเคราะหขอมูลการสำรวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000 (กอง
                  สำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลการใชที่ดินจังหวัดนครปฐม (กองนโยบายและแผนการใช
                  ที่ดิน, 2562) ขอมูลพื้นที่ชลประทาน (กรมชลประทาน, 2560) ขอมูลผลวิเคราะหดิน (Lab analysis)
                  ของชุดดินในประเทศไทย (Soil series) (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลขอบเขต
                  การปกครอง (กรมการปกครอง, 2556) และขอมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ท ี ่

                  อยูในประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สามารถจัดทำหนวยที่ดินไดทั้งสิ้น 23 หนวยทดิน (ตาราง
                                                                                              ี
                                                                                              ่
                  ภาคผนวกที่ 1) แบงเปน หนวยที่ดินในพื้นที่ลุม 21 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 206,071 ไร คิดเปนรอยละ
                  59.18 ของพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตสมโอนครชัยศรีตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินลุมทั่วไป หนวย
                                ่
                                ี
                  ที่ดินลุมที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินที่มการยกรอง (M2) หนวยที่ดินที่มีการยกรองและอยูใน
                                                           ี
                  เขตชลประทาน (IM2) และหนวยที่ดินที่มีการพูนโคนและอยูในเขตชลประทาน (IM4) หนวยที่ดินใน
                                                                                     ื
                                                                                        ี
                  พื้นที่ดอน 2 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 490 ไร คิดเปนรอยละ 0.14 ของพื้นทขอบเขตพนท่การผลิตสมโอนคร
                                                                            ี่
                                                                                     ้
                  ชัยศรีตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินดอนที่อยูในเขตชลประทาน (I) และหนวยที่ดินที่มีคันนาและอยู 
                                      
                  ในเขตชลประทาน (IM3) และหนวยเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 141,675 ไร คิดเปนรอยละ 40.68 ของพื้นท ี ่
                                                                                                  ่
                  ขอบเขตพื้นที่การผลิตสมโอนครชัยศรีตามประกาศฯ ไดแก พื้นที่เลี้ยงสัตวน้ำ พื้นที่ชุมชนและสิงปลูก
                  สราง และพื้นที่น้ำ (รายละเอียดดังรูปที่ 3-11)
                             หนวยที่ดินที่มีการยกรอง (M2) คือหนวยที่ดินในพื้นที่ลุมที่มีการทำการเกษตรโดยการปลูก
                  ไมยืนตนหรือไมผล







                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75