Page 61 - Plan GI
P. 61

3-13






                                จากขอมูลสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ป 2562 จังหวัดนครพนม มีจำนวนครัวเรือน

                  เกษตรกรผูปลูกสับปะรด 1,081 ครัวเรือน เมื่อจำแนกตามขนาดเนื้อที่ปลูกสับปะรด พบวา ครัวเรือน
                  เกษตรกรสวนใหญมีเนื้อที่ปลูกตั้งแต 2 ไร แตไมเกิน 6 ไร รองลงมา มีเนื้อที่ปลูกตั้งแต 10 ไร แตไมเกิน
                  20 ไร คิดเปนรอยละ 48.01 และ 31.73 ตามลำดับ เมื่อพิจารณาขอมูลยอนหลัง ระหวางป 2555-2562

                  พบวา จำนวนครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกสับปะรดเพิ่มขึ้นรอยละ 5.22 ตอป โดยป 2555 มีจำนวน
                  ครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกสับปะรด 893 ครัวเรือน ป 2562 เพิ่มขึ้นเปน 1,081 ครัวเรือน เนื่องจาก
                  เกษตรกรสวนใหญเปลี่ยนจากการปลูกยางพาราที่มีราคาต่ำมาปลูกสับปะรดมากขึ้น และมีราคาจำหนาย
                  หนาสวนที่สูง ในสวนของขอดีของสับปะรดอยูที่ใหผลผลิตติดตอกันถึง 3 ป ใหลูกดก รสหวานฉ่ำ

                  ซึ่งสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตในชวงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม โดยจะมีพอคาจากจังหวัดมุกดาหาร
                  จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดรอยเอ็ด และจังหวัดยโสธร มารับซื้อถึงสวน จึงนับวาเปนพืชเศรษฐกิจที่
                  ชวยสรางรายไดใหกับเกษตรในพื้นที่เปนจำนวนมากในทุก ๆ ป อีกทั้งผูบริโภคชื่นชอบในดานรสชาติ
                  และคุณภาพของผลผลิต จึงทำใหสับปะรดทาอุเทนไดรับการยอมรับเปนอยางมาก (ตารางที่ 3-11 -

                  ตารางที่ 3-12 และรูปที่ 3-12 - รูปที่ 3-13)

                  ตารางที่ 3-10 เนื้อที่ ผลผลิต และผลผลิตตอไร สับปะรด จังหวัดนครพนม ป 2554-2563

                                       เนื้อที่เพาะปลูก   เนื้อที่เก็บเกี่ยว   ผลผลิต    ผลผลิตตอไร
                           ป
                                            (ไร)              (ไร)         (ตัน)        (กิโลกรัม)

                         2554              4,829             4,747         18,855          3,972
                         2555              3,833             3,811         13,289          3,487

                         2556              2,875             2,859          9,853          3,446

                         2557              5,684             5,684         22,736          4,000

                         2558              2,812             2,761         10,731          3,887

                         2559              4,473             4,473         16,665          3,726

                         2560              6,983             6,910         27,355          3,959
                         2561              7,383             7,332         29,121          3,972

                         2562              5,828             5,673         19,594          3,454

                         2563              4,146             4,070         13,580          3,337

                   อัตราเพิ่ม (รอยละ)      4.56              4.45           3.82          -0.60

                  ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2556จ, 2558จ, 2561จ, 2564ฉ)















                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66