Page 56 - Plan GI
P. 56

3-8








                         ครัวเรือน
                     1000

                      900

                      800
                      700

                      600
                      500

                      400
                      300

                      200

                      100
                        0
                             2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564

                  รูปที่ 3-6 จำนวนครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกกระเทียม จังหวัดศรีสะเกษ ป 2555-2564


                             3) หอมแดงศรีสะเกษ
                                หอมแดงศรีสะเกษ (Hom Dang Sisaket และ/หรือ Sisaket Shallot) หมายถึง
                  หอมแดงพันธุศรีสะเกษ มีลักษณะเปลือกแหงมัน สีแดงเขมปนมวง หัวมีลักษณะกลม มีกลิ่นฉุน ซึ่งปลูกใน
                  พื้นที่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอราษีไศล อำเภอยางชุมนอย อำเภอกันทรารมย อำเภออุทุมพรพิสัย
                  อำเภอวังหิน และอำเภอพยุห ของจังหวัดศรีสะเกษ

                                จังหวัดศรีสะเกษ ถือเปนแหลงผลิตหอมแดงที่มีชื่อเสียงและเปนที่ยอมรับวาเปนแหลงผลิต
                  ที่มีคุณภาพและเปนแหลงผลิตหอมแดงอันดับ 1 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตลอดจนเปนแหลงผลิต
                  สำคัญของประเทศ เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศในทองถิ่นที่มีความเหมาะสมกับการปลูกพืช

                  ประกอบกับเทคนิคการเพาะปลูกของคนในทองถิ่นที่ถายทอดกันมาจากรุนสูรุน จึงทำใหหอมแดง
                  ของจังหวัดศรีสะเกษมีกลิ่นและรสชาติที่โดดเดนแตกตางจากสินคาประเภทเดียวกันที่มาจากแหลงอื่น
                  จากขอมูลสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ป 2564 จังหวัดศรีสะเกษ มีเนื้อที่เพาะปลูกหอมแดง 24,394 ไร
                  เนื้อที่เก็บเกี่ยว 24,293 ไร ผลผลิต 86,344 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 3,554 กิโลกรัมตอไร มีพื้นที่ปลูกสวนใหญ

                  ครอบคลุมใน 3 อำเภอ ไดแก อำเภอยางชุมนอย อำเภอราษีไศล และอำเภอกันทรารมณ เมื่อพิจารณา
                  ขอมูลยอนหลัง 10 ป ระหวางป 2555-2564 พบวา เนื้อที่เพาะปลูกและเนื้อที่เก็บเกี่ยวมีแนวโนม
                  เพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 0.12 และ 1.61 ตอป ตามลำดับ สงผลใหผลผลิตและผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้น
                  ในทิศทางเดียวกัน คิดเปนรอยละ 4.60 และ 2.94 ตอป ตามลำดับ โดยป 2555 มีผลผลิต 77,594 ตัน

                  ป 2564 เพิ่มขึ้นเปน 86,344 ตัน ขณะเดียวกัน ป 2555 มีผลผลิตตอไร 2,852 กิโลกรัม ป 2564
                  เพิ่มขึ้นเปน 3,554 กิโลกรัม (ตารางที่ 3-7 – ตารางที่ 3-8 และรูปที่ 3-7 – รูปที่ 3-8)







                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61