Page 60 - Plan GI
P. 60

3-12








                         ครัวเรือน
                    9,000

                    8,000

                    7,000

                    6,000

                    5,000

                    4,000

                    3,000
                    2,000

                    1,000

                        0
                             2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564

                  รูปที่ 3-9 จำนวนครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกหอมแดง จังหวัดศรีสะเกษ ป 2555-2564


                             4) สับปะรดทาอุเทน
                                สับปะรดทาอุเทน (Tha Uthen Pineapple) หมายถึง สับปะรดพันธุปตตาเวีย ที่มีเนื้อละเอียด
                  แนน สีเหลืองเขม ตาตื้น รสชาติหวาน หอม ไมกัดลิ้น แกนหวาน กรอบ ซึ่งปลูกในเขตพื้นที่อำเภอทาอุเทน
                  และอำเภอโพนสวรรค ของจังหวัดนครพนม
                                สับปะรดทาอุเทน เปนพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สำคัญของจังหวัดนครพนม ซึ่งสวนใหญ

                  การปลูกสับปะรดอยูในพื้นที่อำเภอทาอุเทนและอำเภอโพนสวรรค เปนสับปะรดพันธุปตตาเวีย
                  ซึ่งมีลักษณะใบมีหนามแหลม ผลเล็ก รสชาติหวาน หอมอรอย สำหรับสับปะรดที่ปลูกในเขตพื้นที่
                  อำเภอทาอุเทน และอำเภอโพนสวรรค เนนปลูกเพื่อรับประทานผลสด เนื่องจากมีรสชาติที่หวานฉ่ำ หอม

                  เปนที่ตองการของตลาด ซึ่งไดรับการจดทะเบียนจากกรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย ใหเปน
                  สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI : Geographical Indications) จึงทำใหเกษตรกรสนใจปลูกสับปะรด (GI)
                  เพิ่มมากขึ้น
                                จากขอมูลสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ป 2563 จังหวัดนครพนม มีเนื้อที่เพาะปลูก

                  สับปะรด 4,146 ไร เนื้อที่เก็บเกี่ยว 4,070 ไร ผลผลิต 13,580 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 3,337 กิโลกรัมตอไร
                  เมื่อพิจารณาขอมูลยอนหลัง 10 ป ระหวางป 2554-2563 พบวา เนื้อที่เพาะปลูกและเนื้อที่เก็บเกี่ยว
                  มีแนวโนมเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 4.56 และ 4.45 ตอป ตามลำดับ สงผลใหผลผลิตเพิ่มขึ้นในทิศทาง
                  เดียวกัน คิดเปนรอยละ 3.82 ตอป ในสวนของผลผลิตเฉลี่ยมีแนวโนมลดลงคิดเปนรอยละ 0.60 ตอป

                  โดยป 2554 มีผลผลิตตอไร 3,972 กิโลกรัม ป 2563 ลดลงเหลือ 3,337 กิโลกรัม (ตารางที่ 3-10 และ
                  รูปที่ 3-10 – รูปที่ 3-11)







                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65