Page 65 - Plan GI
P. 65

3-17






                             5) ลิ้นจี่นครพนม

                                ลิ้นจี่นครพนม (Nakkhonphanom Lychee หรือ Litchi) หมายถึง ลิ้นจี่พันธุ นพ.1
                  ที่มีเปลือกสีแดงอมชมพู ผลขนาดใหญ ทรงรูปไข เนื้อผลแหง สีขาวขุน รสชาติหวานอมเปรี้ยว ไมมีรสฝาด
                  ซึ่งปลูกในเขตพื้นที่ตำบลขามเฒา อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม

                                จังหวัดนครพนมเปนแหลงผลิตลิ้นจี่อันดับ 1 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกษตรกร
                  สวนใหญนิยมปลูกลิ้นจี่พันธุ นพ.1 เนื่องจากมีลักษณะเดนเฉพาะตัว คือ มีผลใหญ เนื้อแหงไมเละ
                  มีรสหวานอมเปรี้ยวเล็กนอย ไมมีรสฝาด ทำใหเปนที่นิยมรับประทานและเปนที่ตองการของตลาดทั้ง
                  ภายในและตางประเทศ โดยพื้นที่ปลูกสวนใหญจะอยูที่บานขามเฒา และบานนาโดน ตำบลขามเฒา

                  อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม ซึ่งถือวาเปนพื้นที่หลักในการปลูกลิ้นจี่พันธุ นพ.1 และยังไดรับ
                  การขึ้นทะเบียนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรจากกรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย (Geographical
                  Indications หรือ GI) ตั้งแตป 2556
                                จากขอมูลสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ป 2563 จังหวัดนครพนม มีเนื้อที่เพาะปลูก

                  ลิ้นจี่ 2,191 ไร เนื้อที่ใหผล 1,711 ไร ผลผลิต 907 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 530 กิโลกรัมตอไร เมื่อพิจารณา
                  ขอมูลยอนหลังระหวางป 2556-2563 พบวา เนื้อที่เพาะปลูกและเนื้อที่ใหผลมีแนวโนมเพิ่มขึ้นคิดเปน
                  รอยละ 19.61 และ 12.98 ตอป ตามลำดับ ขณะที่ผลผลิตและผลผลิตตอไรมีแนวโนมลดลง คิดเปนรอยละ
                  3.11 และ 14.34 ตอป เนื่องจากในป 2562 สภาพอากาศรอนจัด ฝนทิ้งชวงสงผลตอการติดดอกออกผล

                  ของลิ้นจี่ นอกจากนี้สภาพอากาศที่รอนจัดสงผลใหผลลิ้นจี่รวง ผลแตกผิวไมสวย คุณภาพลิ้นจี่ลดลง
                  สงผลใหผลผลิตในภาพรวมลดลงดวย (ตารางที่ 3-13 และรูปที่ 3-14)
                                จากขอมูลสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ป 2563 จังหวัดนครพนม มีจำนวนครัวเรือน
                  เกษตรกรผูปลูกลิ้นจี่ 849 ครัวเรือน เนื้อที่ปลูกเฉลี่ยตอครัวเรือน 2.58 ไร เมื่อพิจารณาขอมูล

                  ยอนหลัง ระหวางป 2556-2563 พบวา จำนวนครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกลิ้นจี่เพิ่มขึ้นรอยละ 15.23
                  ตอป โดยป 2556 มีจำนวนครัวเรือนเกษตรกรผูลิ้นจี่ 342 ครัวเรือน ป 2563 เพิ่มขึ้นเปน 849 ครัวเรือน
                  เนื่องจากลิ้นจี่พันธุ นพ.1 นับวาเปนพืชอนาคตไกลที่สามารถสรางรายไดใหกับเกษตรกรเปนอยางดี สงผล
                  ใหเกษตรกรเริ่มหันมาสนใจเพาะปลูกเพิ่มมากขึ้น ในสวนของเนื้อที่ปลูกเฉลี่ยตอครัวเรือนลดลงรอยละ

                  1.37 โดยป 2556 มีเนื้อที่ปลูกเฉลี่ยตอครัวเรือน 2.93 ไร ป 2563 ลดลงเหลือ 2.58 ไร (ตารางที่ 3-14
                  และรูปที่ 3-15 - รูปที่ 3-16)
                                จากขอมูลสำนักงานเกษตรจังหวัดนครพนม ป 2563 พบวา พื้นที่ตำบลขามเฒา

                  อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม ซึ่งถือวาเปนพื้นที่หลักในการปลูกลิ้นจี่พันธุ นพ.1 มีจำนวน
                  ครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกลิ้นจี่ 450 ครัวเรือน เนื้อที่เพาะปลูกทั้งหมด 1,225 ไร เนื้อที่ใหผลผลิต 1,024
                  ไร เนื้อที่ยังไมใหผลผลิต 201 ไร เนื้อที่เก็บเกี่ยว 1,024 ไร ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได 725.20 ตัน และผลผลิต
                  ตอไร 708.20 กก. (ตารางที่ 3-15 และรูปที่ 3-17)
















                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70