Page 25 - Plan GI
P. 25

2-9






                  ไดจัดชั้นความเหมาะสมในการปลูกกระเทียม ดานอุณหภูมิมีชั้นความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตดังนี้

                  ชั้นความเหมาะสมสูง 18 - 20 องศาเซลเซียส ชั้นความเหมาะสมปานกลาง 15 – 17 , 21 - 24 องศาเซลเซียส
                  และชั้นความเหมาะสมเล็กนอย 12 – 14 , 25 - 30 องศาเซลเซียส ในดานความชื้นที่มีผลตอการเจริญเติบโต
                  พบวากระเทียมมีความตองการน้ำในชวงที่มีชั้นความเหมาะสมสูง คือ 350 - 500 มิลลิเมตร ชวงชั้น

                  ความเหมาะสมปานกลาง 250 - 350 มิลลิเมตร และชวงชั้นความเหมาะสมเล็กนอย 200 - 250 มิลลิเมตร
                  จากการสำรวจขอมูลภาคสนามพบวาสวนใหญเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ มีการใชน้ำบาดาล
                  เพื่อการเกษตรและน้ำจากแหลงน้ำตามธรรมชาติ มาใชในการปลูกกระเทียมเนื่องจากสามารถควบคุม
                  การใหน้ำตามชวงระยะเวลาของการเจริญเติบโตตามความตองการน้ำของพืชไดดีกวา

                              (3) สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมในการปลูกหอมแดงศรีสะเกษ
                                หอมแดงศรีสะเกษเปนพืช GI ที่เจริญเติบโตไดดีตามลักษณะภูมิศาสตรของจังหวัด
                  แลวนั้น ภูมิอากาศของจังหวัดศรีสะเกษที่ฤดูหนาวไมหนาวมากจนเกินไป และมีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย
                  ที่เหมาะสม ระหวางรอยละ 60 - 70 ในชวงเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ซึ่งหอมแดงมีสภาพการเจริญเติบโต

                  ที่ใกลเคียงกับกระเทียมศรีสะเกษเชนกัน ตามหลักเกณฑการประเมินคุณภาพที่ดิน หลักการของ
                  FAO Framework ไดจัดชั้นความเหมาะสมสูงในการปลูกหอมแดงดานอุณหภูมิมีชั้นความเหมาะสมตอ
                  การเจริญเติบโตดังนี้ ชั้นความเหมาะสมสูง 15 - 20 องศาเซลเซียส ชั้นความเหมาะสมปานกลาง
                  12 – 14 , 21 - 23 องศาเซลเซียส และชั้นความเหมาะสมเล็กนอย 11 - 10 , 24 - 25 องศาเซลเซียส

                  ในดานความชื้นที่มีผลตอการเจริญเติบโต พบวาหอมแดงมีความตองการน้ำในชวงที่มีชั้นความเหมาะสมสูง
                  คือ 450 - 600 มิลลิเมตร ชวงชั้นความเหมาะสมปานกลาง 350 - 450 มิลลิเมตร และชวงชั้น
                  ความเหมาะสมเล็กนอย 250 - 350 มิลลิเมตร จากการสำรวจขอมูลภาคสนามพบวาสวนใหญเกษตรกรใน
                  พื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ มีการใชน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรและน้ำจากแหลงน้ำตามธรรมชาติ มาใชใน

                  การปลูกหอมแดง เนื่องจากสามารถควบคุมการใหน้ำตามชวงระยะเวลาของการเจริญเติบโตตาม
                  ความตองการน้ำของพืชไดดีกวา




































                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30