Page 24 - Plan GI
P. 24

2-8





                  2.2   ภูมิอากาศ


                        2.2.1 ภูมิอากาศจังหวัดศรีสะเกษ
                            จากการรวบรวมขอมูลภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ณ สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดศรีสะเกษ
                  ในรอบ 15 ป (ชวงป พ.ศ. 2549 - 2564) ดังตารางที่ 2-1 ประกอบดวยอุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ำสุด
                  อุณหภูมิเฉลี่ย ปริมาณน้ำฝน น้ำฝนใชการได ความชื้นสัมพัทธ ศักยภาพการคายระเหยน้ำ อธิบายไดดังนี้
                            1) อุณหภูมิ

                              จังหวัดศรีสะเกษ มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป 27.4 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย
                  ตลอดป 33.1 องศาเซลเซียส โดยพบอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน คือ 36.5 องศาเซลเซียส และมีอุณหภูมิ
                  ต่ำสุดเฉลี่ยตลอดป 23.0 องศาเซลเซียส โดยพบอุณหภูมิต่ำสุดในเดือนมกราคม คือ 18.0 องศาเซลเซียส

                            2) ปริมาณน้ำฝน
                              จังหวัดศรีสะเกษ มีปริมาณน้ำฝนรวม 1,448.0 มิลลิเมตร โดยในเดือนกันยายน
                  มีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด 288.6 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมมีปริมาณน้ำฝนนอยที่สุด คือ 2.9 มิลลิเมตร
                            3) ปริมาณน้ำฝนใชการได (Effective Rainfall : ER)

                              ปริมาณน้ำฝนใชการได คือ ปริมาณน้ำฝนที่เหลืออยูในดิน ซึ่งพืชสามารถนำไปใช
                  ประโยชนไดภายหลังจากมีการไหลซึมลงไปในดินจนดินอิ่มตัวดวยน้ำแลวไหลบาออกมากักเก็บในพื้นดิน
                  จังหวัดศรีสะเกษ มีปริมาณน้ำฝนใชการได 947.8 มิลลิเมตร ในเดือนกันยายน มีปริมาณน้ำฝนใชการ
                  ไดมากที่สุด 153.9 มิลลิเมตร และเดือนมกราคม ปริมาณน้ำฝนใชการไดนอยที่สุด คือ 2.9 มิลลิเมตร

                            4) ความชื้นสัมพัทธและศักยภาพการคายระเหยน้ำ
                              จังหวัดศรีสะเกษ พบวามีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป 74.5 เปอรเซ็นต ปริมาณการ
                  คายระเหยน้ำเฉลี่ยตลอดป 121.9 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 142.0 มิลลิเมตร ในเดือน
                  พฤษภาคม ปริมาณการคายระเหยต่ำสุด 108.5 มิลลิเมตร ในเดือนมกราคม

                            5) การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสำหรับการปลูกพืช GI
                                (1) สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมในการปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ
                                   ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ เปนทุเรียน GI ที่เจริญเติบโตไดดีในดินภูเขาไฟโบราณผุพัง

                  มาจากหินบะซอลแลวนั้น ปริมาณน้ำฝนในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ โดยเฉพาะพื้นที่อำเภอขุนหาญ
                  อำเภอกันทรลักษ อำเภอศรีรัตนะ เปนพื้นที่ที่มีปริมาณน้ำฝนมากถึง 1,200 - 1,400 มิลลิเมตรตอป
                  ซึ่งไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงใตและมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อุณหภูมิต่ำสุดประมาณ
                  10 องศาเซลเซียส สูงสุดประมาณ 40 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพันธเฉลี่ยรอยละ 66 - 73 ซึ่งตาม
                  หลักเกณฑการประเมินคุณภาพที่ดินในหลักการของ FAO Framwork ไดจัดชั้นความเหมาะสมในการปลูก

                  ทุเรียน ในเรื่องของปริมาณอุณหภูมิ ไดแก ชั้นความเหมาะสมสูง 20 - 28 องศาเซลเซียส ชั้นความเหมาะสม
                  ปานกลาง 19 – 18 , 29 - 30 องศาเซลเซียส ชั้นความเหมาะสมเล็กนอย 31 - 32 องศาเซลเซียส
                                (2) สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมในการปลูกกระเทียมศรีสะเกษ

                                กระเทียมศรีสะเกษ เปนกระเทียมพันธุเบาหรือพันธุพื้นเมืองศรีสะเกษ เปนพืช GI
                  ที่เจริญเติบโตไดดีตามลักษณะภูมิศาสตรของจังหวัดแลวนั้น ภูมิอากาศของจังหวัดศรีสะเกษที่ฤดูหนาว
                  ไมหนาวมากจนเกินไป และมีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยที่เหมาะสม ระหวางรอยละ 60 - 70 ในชวงเดือน
                  พฤศจิกายนถึงธันวาคม ตามหลักเกณฑการประเมินคุณภาพที่ดินในหลักการของ FAO Framwork





                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29