Page 193 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 193

2-165





                  ตารางที่ 2.6-21 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกล าไยที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)

                                ล าไยพวงทองบ้านแพ้ว ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา
                                                                                         เนื้อที่
                                       ชุดดิน                      สัญลักษณ์
                                                                                    ไร่       ร้อยละ

                      1. กลุ่มดินที่มีการยกร่อง                                        3,101        89.83

                          ชุดดินด าเนินสะดวก                           Dn              3,086        89.39

                          ชุดดินธนบุรี                                 Tb                  15          0.44

                      2. กลุ่มดินเหนียว                                                  351        10.17

                          ชุดดินบางกอก                                 Bk                351        10.17


                            14) มะนาวเพชรบุรี จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตรา

                  ส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและ
                  แผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกมะนาวส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพา

                  รูปพัด มีเนื้อที่ 2,160 ไร่ หรือร้อยละ 27.54 ของพื้นที่ปลูกมะนาวทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืช
                  บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินก าแพงแสน (Ks) และ
                  ชุดดินท่าม่วง (Tm) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกมะนาวในกลุ่มดินลึกปานกลาง กลุ่มดินร่วนละเอียด กลุ่มดิน
                  ตื้น กลุ่มดินร่วนหยาบ พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน กลุ่มดินเหนียว กลุ่มดินที่พบชั้นมาร์ล กลุ่มดินเปรี้ยวจัด

                  และกลุ่มดินทราย มีเนื้อที่ 1,644 1,388 1,322 1,047 140 70 43 26 และ 8 ไร่ หรือร้อยละ 20.95
                  17.69 16.84 13.33 1.78 0.88 0.55 0.33 และ 0.11 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่
                  ปลูกมะนาว ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-22 และรูปที่ 2.6-22)
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198