Page 192 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 192

2-164





                            12) มะพร้าวน้้าหอมบ้านแพ้ว จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน

                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย
                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกมะพร้าวส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินที่มีการยกร่อง มี

                  เนื้อที่ 34,059 ไร่ หรือร้อยละ 63.03 ของพื้นที่ปลูกมะพร้าวทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินด าเนินสะดวก (Dn) ชุดดิน
                  สมุทรสงคราม (Sso) และชุดดินธนบุรี (Tb) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกมะพร้าวในกลุ่มดินเหนียว และกลุ่ม
                  ดินเลนชายทะเล มีเนื้อที่ 19,212 และ 768 ไร่ หรือร้อยละ 35.55 และ 1.42 ตามล าดับ โดยมี
                  รายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกมะพร้าว ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-20 และรูปที่ 2.6-20)


                  ตารางที่ 2.6-20 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกมะพร้าวที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                มะพร้าวน้ าหอมบ้านแพ้ว ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา

                                                                                        เนื้อที่
                                    ชุดดิน                     สัญลักษณ์
                                                                                   ไร่        ร้อยละ

                      1. กลุ่มดินที่มีการยกร่อง                                    34,059        63.03
                          ชุดดินด าเนินสะดวก                      Dn               22,018        40.75

                          ชุดดินธนบุรี                            Tb                5,141          9.51
                          ชุดดินสมุทรสงคราม                       Sso               6,900        12.77

                      2. กลุ่มดินเลนชายทะเล                                           768         1.42
                          ชุดดินท่าจีน                             Tc                 768          1.42

                      3. กลุ่มดินเหนียว                                            19,211        35.55
                          ชุดดินบางกอก                             Bk              19,206        35.54
                          ชุดดินบางเลน                             Bl                   5          0.01


                            13) ล้าไยพวงทองบ้านแพ้ว จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน

                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย
                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกล าไยส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินที่มีการยกร่อง มีเนื้อ

                  ที่ 3,101 ไร่ หรือร้อยละ 89.83 ของพื้นที่ปลูกล าไยทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินด าเนินสะดวก (Dn) และชุด
                  ดินธนบุรี (Tb) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกล าไยในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่ 351 ไร่ หรือร้อยละ 10.17 ของ
                  พื้นที่ปลูกล าไยทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรม

                  ทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินบางกอก (Bk) โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกล าไย ดังนี้
                  (ตารางที่ 2.6-21 และรูปที่ 2.6-21)
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197