Page 188 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 188

2-160





                  ตารางที่ 2.6-17 (ต่อ)

                                                                                       เนื้อที่
                                      ชุดดิน                     สัญลักษณ์
                                                                                  ไร่         ร้อยละ
                      7. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                       8,696         6.23
                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                     SC               8,696          6.23


                            10) ชมพู่เพชร จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราส่วน
                  1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและแผนการ

                  ใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรม
                  ทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกชมพู่ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด มี
                  เนื้อที่ 730 ไร่ หรือร้อยละ 55.35 ของพื้นที่ปลูกชมพู่ทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินก าแพงแสน (Ks) และชุดดิน

                  ท่าม่วง (Tm) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกชมพู่ในกลุ่มดินร่วนหยาบ กลุ่มดินลึกปานกลาง กลุ่มดินเหนียว กลุ่ม
                  ดินร่วนละเอียด กลุ่มดินตื้น และพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่ 299 96 70 67 53 และ 4 ไร่ หรือร้อยละ
                  22.65 7.31 5.26 5.07 4.05 และ 0.31 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกชมพู่ ดังนี้
                  (ตารางที่ 2.6-18 และรูปที่ 2.6-18)


                  ตารางที่ 2.6-18 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกชมพู่ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                  ชมพู่เพชร ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                         เนื้อที่
                                       ชุดดิน                       สัญลักษณ์
                                                                                    ไร่       ร้อยละ

                      1. กลุ่มดินตื้น                                                   53        4.05
                          ชุดดินท่ายาง                                 Ty               48        3.64

                          ชุดดินแม่ริม                                 Mr                5        0.41
                      2. กลุ่มดินร่วนละเอียด                                            67        5.07

                          ชุดดินปราณบุรี                               Pr               15        1.15
                          ชุดดินแม่ประจันต์                           Mpc               52        3.92

                      3. กลุ่มดินร่วนหยาบ                                             299        22.65

                          ชุดดินเพชรบุรี                               Pb              216       16.39
                          ชุดดินหุบกระพง                               Hg               75        5.68

                          หน่วยดินเชิงซ้อนของตะกอนน้ าพา               AC                8        0.58
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193