Page 195 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 195

2-167





                  ตารางที่ 2.6-22 (ต่อ)


                                                                                        เนื้อที่
                                       ชุดดิน                       สัญลักษณ์
                                                                                    ไร่       ร้อยละ
                      9. กลุ่มดินเหนียว                                                 70        0.88
                          ชุดดินนครปฐม                                 Np               35        0.44

                          ชุดดินบางกอก                                 Bk               34        0.43
                          ชุดดินลพบุรี                                 Lb                1        0.01

                      10. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                       140         1.78
                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                        SC              140        1.78


                            15) กระท้อนตะลุง จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราส่วน
                  1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและแผน
                  การใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ

                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกกระท้อนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่ 152 ไร่
                  หรือ ร้อยละ 61.71 ของพื้นที่ปลูกกระท้อนทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                  ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินโคกกระเทียม (Kk) และชุดดินชัยนาท (Cn)
                  รองลงมาคือพื้นที่ปลูกกระท้อนในกลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด และกลุ่มดินร่วนหยาบ มีเนื้อที่
                  94 ไร่ และ 1 ไร่ หรือร้อยละ 38.01 และ 0.29 ของพื้นที่ปลูกกระท้อนทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิต

                  พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญาตามล าดับ ได้แก่ ชุดดินเชียงใหม่
                  (Cm) และชุดดินสรรพยา (Sa) โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกกระท้อน ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-23
                  และรูปที่ 2.6-23)


                  ตารางที่ 2.6-23 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกกระท้อนที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                กระท้อนตะลุง ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา


                                                                                         เนื้อที่
                                       ชุดดิน                       สัญลักษณ์
                                                                                    ไร่        ร้อยละ


                      1. กลุ่มดินร่วนหยาบ                                                  1         0.29
                          ชุดดินสรรพยา                                 Sa                   1          0.29


                      2. กลุ่มดินริมแม่น้้าหรือตะกอนน้้าพารูปพัด                          94        38.01
                          ชุดดินเชียงใหม่                              Cm                 94        38.01
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200