Page 15 - ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจยางพารา
P. 15

บทที่ 1

                                                         บทน ำ



                  1.1 หลักกำรและเหตุผล
                             ระบบแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) เป็นระบบที่ช่วยให้เกษตรกร
                  สามารถเข้าถึงข้อมูลด้านการเกษตร แผนที่ความเหมาะสมของการปลูกพืช (Zoning ดิน น ้า พืช)

                  ปัจจัยการผลิต พื นที่ในและนอกเขตชลประทาน แหล่งน ้าผิวดินและใต้ดิน Cropping Pattern
                  และ Cropping Requirement โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลจัดท้าเป็นแผนที่รายจังหวัดจากข้อมูลขอบเขต
                  การปกครอง การใช้ที่ดินในปัจจุบัน พื นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ พื นที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมกับ

                  พืชเศรษฐกิจรายชนิด ซึ่งเป็นประโยชน์ส้าหรับการบริหารจัดการด้านการเกษตรของไทย ให้เกิด
                  ความสมดุล มั่นคง ยั่งยืน  แต่เนื่องจากปัจจุบันระบบแผนที่เกษตรฯ ยังขาดการแสดงผลการคาดการณ์
                  ผลผลิตสินค้าเกษตรและผลตอบแทนการผลิตพืช จึงท้าให้เกิดความร่วมมือระหว่างกรมพัฒนาที่ดิน
                  กับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ในการด้าเนินโครงการคาดการณ์
                  ผลผลิตสินค้าเกษตร โดยมีโครงการน้าร่องสินค้าเกษตรยางพารา มาจัดท้าแบบจ้าลองและน้าข้อมูล

                  แสดงผลในระบบแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ซึ่งจะท้าให้เกษตรกรสามารถ
                  วางแผนการผลิตล่วงหน้าได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
                             ทั งนี  กรมพัฒนาที่ดินเป็นหน่วยงานหลักในการก้าหนดนโยบายให้จัดท้าเขตการใช้ที่ดิน

                  ในพื นที่เกษตรกรรม โดยค้านึงถึงการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจ้ากัดให้เหมาะสม
                  และเป็นธรรม รวมทั งให้ความส้าคัญกับการจัดท้าฐานข้อมูลพืชเศรษฐกิจ ดังนั น จึงมีความจ้าเป็นที่ต้อง
                  ด้าเนินการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจยางพารา ตามชั น
                  ความเหมาะสมของที่ดิน เพื่อใช้ในแบบจ้าลองการคาดการณ์ผลผลิตสินค้าเกษตรและผลตอบแทน

                  การผลิตพืช ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการด้าเนินงานตามนโยบายภาคการเกษตรของรัฐ และตอบสนอง
                  ความต้องการของเกษตรกรได้อย่างยั่งยืน

                  1.2 วัตถุประสงค์
                             1) เพื่อทราบสถานภาพด้านเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร

                             2) เพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจยางพารา
                  จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามชั นความเหมาะสมของที่ดิน

                  1.3 ระยะเวลำด ำเนินงำน
                             ปีงบประมาณ 2565 (1 ธันวาคม 2564 – 30 กันยายน 2565)


                  1.4 สถำนที่ด ำเนินงำน

                             จังหวัดสุราษฎร์ธานี
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20