Page 12 - ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจยางพารา
P. 12

(7)





                  จ าหน่ายในรูปแบบน้ ายางสด โดยให้เหตุผลว่าขั้นตอนการผลิตไม่ซับซ้อน ราคาผลผลิตดี สามารถ

                  จ าหน่ายได้ทุกวัน และมีตลาดรองรับที่แน่นอน ควำมพึงพอใจในรำคำผลผลิตยำงพำรำที่เกษตรกร
                  จ ำหน่ำย และรำคำผลผลิตยำงพำรำที่เกษตรกรต้องกำรจ ำหน่ำย เกษตรกรร้อยละ 59.46
                  ของเกษตรกรทั้งหมด พึงพอใจในราคาผลผลิตยางพาราที่จ าหน่ายได้ และราคายางพาราที่เกษตรกร

                  ต้องการจ าหน่ายเฉลี่ยต่อกิโลกรัม ในแต่ละประเภทผลผลิตยางพารา คือ น้ ายางสด 60.71 บาท ยางก้อนถ้วย
                  31.64 บาท และยางแผ่นดิบ 69.33 บาท

                             2. ภำวะกำรผลิตยำงพำรำ
                                2.1 น้ ำยำงสด
                                    การวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตยางพารา ใช้ราคาน้ ายางสด

                  ที่เกษตรกรจ าหน่ายได้ที่สวนเฉลี่ย 47.15 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งมีต้นทุนและผลตอบแทนจ าแนก
                  ตามบริเวณพื้นที่ดินที่มีระดับความเหมาะสมทางกายภาพสูง (S1) ปานกลาง (S2) เล็กน้อย (S3)
                  และเฉลี่ยรวม ซึ่งผลผลิตที่ได้ คือ 268.10  211.06  200.81 และ 233.79 กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าผลผลิต
                  12,640.92  9,951.48  9,468.19 และ 11,023.20 บาทต่อไร่ มีต้นทุนทั้งหมด 8,668.47  8,743.91

                  8,778.04 และ 8,719.32 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 3,972.45  1,207.57  690.15
                  และ 2,303.88 บาทต่อไร่ ต้นทุนต่อกิโลกรัม 32.33  41.43  43.71 และ 37.30 บาท และอัตราส่วน
                  รายได้ต่อต้นทุน 1.46  1.14  1.08 และ 1.26 ตามล าดับ เมื่อพิจารณาจากอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุน
                  ทั้งหมด (Benefit-cost Ratio: B/C Ratio) ทั้ง 3 ระดับความเหมาะสม มีค่ามากกว่า 1 หมายความว่า

                  ผลตอบแทนที่ได้รับจากการผลิตยางพารา มากกว่าค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่เสียไป แสดงให้เห็นว่าการปลูก
                  ยางพารามีความคุ้มค่าแก่การลงทุน
                                2.2 ยำงก้อนถ้วย
                                    การวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตยางพารา ใช้ราคายางก้อนถ้วย

                  ที่เกษตรกรจ าหน่ายได้ที่สวนเฉลี่ย 23.80 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งมีต้นทุนและผลตอบแทนจ าแนก
                  ตามบริเวณพื้นที่ดินที่มีระดับความเหมาะสมทางกายภาพสูง (S1) ปานกลาง (S2) เล็กน้อย (S3)
                  และเฉลี่ยรวม ซึ่งผลผลิตที่ได้ คือ 418.82  368.44  340.15 และ 364.56 กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าผลผลิต

                  9,967.92  8,768.87  8,095.57 และ 8,676.53 บาทต่อไร่ มีต้นทุนทั้งหมด 8,357.88  8,128.57
                  7,915.36 และ 8,086.81 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 1,610.04  640.30  180.21 และ
                  589.72 บาทต่อไร่ ต้นทุนต่อกิโลกรัม 19.96  22.06  23.27 และ 22.18 บาท และอัตราส่วนรายได้
                  ต่อต้นทุน 1.19  1.08  1.02 และ 1.07 ตามล าดับ เมื่อพิจารณาจากอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด
                  (Benefit-cost Ratio: B/C Ratio) ทั้ง 3 ระดับความเหมาะสม มีค่ามากกว่า 1 หมายความว่า

                  ผลตอบแทนที่ได้รับจากการผลิตยางพารา มากกว่าค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่เสียไป แสดงให้เห็นว่าการปลูก
                  ยางพารามีความคุ้มค่าแก่การลงทุน
                                2.3 ยำงแผ่นดิบ

                                    การวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตยางพารา ใช้ราคายางแผ่นดิบ
                  ที่เกษตรกรจ าหน่ายได้ที่สวนเฉลี่ย 56.67 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งมีต้นทุนและผลตอบแทนจ าแนก
                  ตามบริเวณพื้นที่ดินที่มีระดับความเหมาะสมทางกายภาพปานกลาง (S2) เล็กน้อย (S3)
                  และเฉลี่ยรวม ซึ่งผลผลิตที่ได้ คือ 236.10  209.94 และ 217.69 กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าผลผลิต
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17