Page 47 - รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจังหวัดชัยนาท
P. 47

และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) เท่ากับ 1.22 และอ้อยโรงงาน เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่
                  ให้ผลผลิต 9.85 ตัน มูลค่าผลผลิต 10,539.50 บาท ต้นทุนทั้งหมด 7,132.48 บาท ผลตอบแทนเหนือ
                  ต้นทุนทั้งหมด 3,407.02 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) เท่ากับ 1.48 เมื่อนำมา

                                                                                                  ั
                  เปรียบเทียบ พบว่า ในกลุ่มชุดดินที่ 18 อ้อยโรงงานได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด และมีอตราส่วน
                  รายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดมากกว่าข้าวนาปี และมันสำปะหลัง
                                   1.4) กลุ่มชุดดินที่ 21 (ข้าวนาปี–ข้าวนาปรัง และส้มโอ)
                                       ข้าวนาปี–ข้าวนาปรัง เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่ ให้ผลผลิต 1,673.17 กิโลกรัม
                  มูลค่าผลผลิต 15,924.99 บาท ต้นทุนทั้งหมด 9,447.31 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 6,477.68 บาท

                  และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) เท่ากับ 1.69 และส้มโอ เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่
                  ให้ผลผลิต 652.50 กิโลกรัม มูลค่าผลผลิต 22,961.48 บาท ต้นทุนทั้งหมด 14,445.44 บาท ผลตอบแทนเหนือ
                  ต้นทุนทั้งหมด 8,516.04 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) เท่ากับ 1.59 เมื่อนำมา

                  เปรียบเทียบ พบว่า ในกลุ่มชุดดินที่ 21 ส้มโอได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดมากกว่าข้าวนาปี
                  ตามด้วยข้าวนาปรัง สำหรับอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดข้าวนาปีตามด้วยข้าวนาปรังมีอัตราส่วน
                  ที่มากกว่าส้มโอ เนื่องจากสัดส่วนต้นทุนทั้งหมดของส้มโอมีมากกว่าข้าวนาปีตามด้วยข้าวนาปรัง (หมายเหตุ:
                  สำหรับการเปรียบเทียบพืชไร่ และไม้ผลไม้ยืนต้นในกลุ่มชุดดินเดียวกัน โดยปกติจะไม่สามารถเปรียบเทียบได้

                  เนื่องจากในช่วงปีปลูกและปีที่ดูแลรักษา ไม้ผลไม้ยืนต้นจะยังไม่ให้ผลผลิต)
                                   1.5) กลุ่มชุดดินที่ 35 (ข้าวนาปี มันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน และส้มโอ)
                                       ข้าวนาปี เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่ ให้ผลผลิต 526.23 กิโลกรัม มูลค่าผลผลิต
                  5,030.76 บาท ต้นทุนทั้งหมด 4,272.80 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 757.96 บาท และอัตราส่วน

                  รายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) เท่ากับ 1.18 มันสำปะหลัง เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่ ให้ผลผลิต 4.28 ตัน
                  มูลค่าผลผลิต 10,614.40 บาท ต้นทุนทั้งหมด 6,779.23 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 3,835.17 บาท
                  และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) เท่ากับ 1.57 อ้อยโรงงาน เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่
                  ให้ผลผลิต 8.65 ตัน มูลค่าผลผลิต 9,255.50 บาท ต้นทุนทั้งหมด 8,105.41 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุน

                  ทั้งหมด 1,150.09 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) เท่ากับ 1.14 และส้มโอ เฉลี่ยต่อ
                  เนื้อที่ปลูก 1 ไร่ ให้ผลผลิต 769.31 กิโลกรัม มูลค่าผลผลิต 27,072.02 บาท ต้นทุนทั้งหมด 11,631.76 บาท
                  ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 15,440.26 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio)

                  เท่ากับ 2.33 เมื่อนำมาเปรียบเทียบ พบว่า ในกลุ่มชุดดินที่ 35 ส้มโอได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด
                  และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดมากกว่าข้าวนาปี มันสำปะหลัง และอ้อยโรงงาน (หมายเหตุ:
                  สำหรับการเปรียบเทียบพชไร่ และไม้ผลไม้ยืนต้นในกลุ่มชุดดินเดียวกัน โดยปกติจะไม่สามารถเปรียบเทียบ
                                       ื
                  ได้ เนื่องจากในช่วงปีปลูกและปีที่ดูแลรักษา ไม้ผลไม้ยืนต้นจะยังไม่ให้ผลผลิต)
                                2) ภาวะการผลิตตามประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                                   2.1) ข้าวนาปี (กลุ่มชุดดินที่ 18 และกลุ่มชุดดินที่ 35) เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่
                  พบว่า กลุ่มชุดดินที่ 18 ให้ผลผลิต 683.59 กิโลกรัม มูลค่าผลผลิต 6,535.12 บาท ต้นทุนทั้งหมด
                  4,993.32 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 1,541.80 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด

                  (B/C Ratio) เท่ากับ 1.31 และกลุ่มชุดดินที่ 35 ให้ผลผลิต 526.23 กิโลกรัม มูลค่าผลผลิต 5,030.76 บาท
                  ต้นทุนทั้งหมด 4,272.80 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 757.96 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุน





                                                                             ี่
                  รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจสำหรับพืชเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นท จังหวัดชัยนาท   39
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52