Page 29 - การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม
P. 29
2-7
ตารางที่ 2-7: การถือครองที่ดินและหนังสือส าคัญในที่ดินของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยน
การผลิตในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ปี 2562
รายการ ไร่/ครัวเรือน ร้อยละ
การถือครองที่ดิน
พื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการ 9.71 100.00
หนังสือส าคัญในที่ดินของตนเอง
โฉนด 4.13 42.48
ส.ป.ก.4-01 3.66 37.62
น.ส.3ก. 1.61 16.62
ส.ค.1 0.20 2.11
น.ส.3 0.11 1.17
ที่มา: จากการส ารวจ (2564) ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 กรมพัฒนาที่ดิน และ
จากการค านวณ (2564) กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
2.4 การกู้ยืมเงินเพื่อการเกษตร
2.4.1 เขตพัฒนาที่ดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จากการศึกษาพบว่า เกษตรกรมีการกู้ยืมเงินร้อยละ 67.92 และมีเกษตรกรที่ไม่มีการกู้ยืมเงิน
ร้อยละ 32.08 ของเกษตรกรทั้งหมด ส าหรับเกษตรกรที่มีการกู้ยืมเงินมีวงเงินกู้เฉลี่ย 262,916.67 บาท
ต่อครัวเรือน โดยแหล่งเงินกู้ที่เกษตรกรกู้มากที่สุดคือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
ร้อยละ 91.67 ของเกษตรกรที่กู้ยืมเงิน รองลงมาคือกองทุนหมู่บ้านร้อยละ 12.50 และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
ร้อยละ 2.78 นอกจากนั้นกู้จากสหกรณ์การเกษตร ธนาคารพาณิชย์ และพ่อค้าหรือนายทุนร้อยละ 1.39
เท่ากัน มีอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เฉลี่ยร้อยละ 7.27 ต่อปี (ตารางที่ 2-8)