Page 24 - การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม
P. 24
2-2
58.82 รองลงมาคือ อื่น ๆ เช่น รับราชการ และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ร้อยละ 11.76 ผู้ใหญ่บ้านร้อยละ 14.71
หมอดินอาสาร้อยละ 8.82 ก านันและกรรมการหมู่บ้านร้อยละ 2.94 เท่ากัน (ตารางที่ 2-1)
2.1.4 ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 5
จากการศึกษาพบว่า เกษตรกรเป็นเพศชายร้อยละ 56.82 และเพศหญิงร้อยละ 43.18
ของเกษตรกรทั้งหมด มีอายุเฉลี่ย 55 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 47.72 รองลงมาคือ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพร้อยละ 31.82 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นร้อยละ 9.09
ระดับปริญญาตรีร้อยละ 6.82 และระดับอนุปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงร้อยละ 4.55 ทั้งนี้
เกษตรกรส่วนใหญ่มีสถานภาพทางสังคมเป็นเกษตรกรทั่วไปร้อยละ 52.27 รองลงมาคือหมอดินอาสาร้อยละ
27.27 กรรมการหมู่บ้านร้อยละ 13.64 อื่น ๆ เช่น ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านร้อยละ 11.36 ผู้น ากลุ่มร้อยละ 6.82 และ
ผู้ใหญ่บ้านร้อยละ 2.27 (ตารางที่ 2-1)
ตารางที่ 2-1: ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม
ปี 2564
หน่วย: ร้อยละ
เขตพัฒนาที่ดินภาค ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต
รายการ
ตะวันออกเฉียงเหนือ สพข.3 สพข.4 สพข.5
เพศ
ชาย 50.00 32.14 55.88 56.82
หญิง 50.00 67.86 44.12 43.18
อายุเฉลี่ย (ปี) 55.79 55.93 56.29 55.32
ช่วงอายุ
< 30 ปี 0.94 - 2.94 -
30 – 39 ปี 4.72 3.57 5.88 4.55
40 – 49 ปี 19.81 25.00 17.65 18.18
50 – 59 ปี 40.57 39.29 29.41 50.00
≥ 60 ปี 33.96 32.14 44.12 27.27