Page 25 - การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม
P. 25
2-3
ตารางที่ 2-1: (ต่อ)
หน่วย: ร้อยละ
เขตพัฒนาที่ดินภาค ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต
รายการ
ตะวันออกเฉียงเหนือ สพข.3 สพข.4 สพข.5
ระดับการศึกษา
จบการศึกษา
ระดับประถมศึกษา 50.94 64.29 44.12 47.72
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 15.09 25.00 14.71 9.09
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 26.42 7.14 35.29 31.82
ระดับอนุปริญญา/ปวส. 1.89 - - 4.55
ระดับปริญญาตรี 5.66 3.57 5.88 6.82
สถานภาพทางสังคม
ก านัน 0.94 - 2.94 -
ผู้ใหญ่บ้าน 7.55 7.14 14.71 2.27
กรรมการหมู่บ้าน 9.43 10.71 2.94 13.64
ผู้น ากลุ่ม 2.83 - - 6.82
หมอดินอาสา 16.04 7.14 8.82 27.27
เกษตรกรทั่วไป 56.60 60.71 58.82 52.27
อื่น ๆ 13.21 17.86 11.76 11.36
ที่มา: จากการส ารวจ (2564) ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 3, 4 และ 5 กรมพัฒนาที่ดิน และ
จากการค านวณ (2564) กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
2.2 การใช้ประโยชน์ที่ดินทางการเกษตร และพื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปีตามระดับความเหมาะสม
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2.2.1 การใช้ประโยชน์ที่ดินทางการเกษตร
ปี 2562 มีพื้นที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรกรในประเทศทั้งหมด 149,252,451.00 ไร่ แบ่งออกเป็น
พื้นที่ท าการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 63,857,027.00 ไร่ หรือร้อยละ 42.78 ของพื้นที่การเกษตร
ทั้งหมด โดยใช้ประโยชน์ที่ดินในการเพาะปลูกข้าวนาปีจ านวน 38,289,628.67 ไร่ หรือร้อยละ 59.96
ของพื้นที่การเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจ านวนครัวเรือนเกษตรในประเทศทั้งหมด 7,554,562.00
ครัวเรือน พื้นที่ท าการเกษตรเฉลี่ย 19.76 ไร่ต่อครัวเรือน แบ่งออกเป็นครัวเรือนเกษตรใ น
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3,531,891.00 ครัวเรือน พื้นที่ท าการเกษตรเฉลี่ย 18.08 ไร่ต่อครัวเรือน และครัวเรือน
เกษตรที่เพาะปลูกข้าวนาปี 2,998,553.00 ครัวเรือน พื้นที่ปลูกข้าวนาปีเฉลี่ย 12.77 ไร่ต่อครัวเรือน (ตารางที่ 2-2)