Page 31 - การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม
P. 31
2-9
ตารางที่ 2-9: การกู้ยืมเงินเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต
ในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 ปี 2564
รายการ บาท/ครัวเรือน ร้อยละ
มีการกู้ยืมเงิน 78.57
ไม่มีการกู้ยืมเงิน 21.43
วงเงินกู้เฉลี่ยต่อครัวเรือน 185,681.82 -
รายละเอียดของการกู้ยืมเงิน
แหล่งเงินกู้
ธ.ก.ส. 90.91
กองทุนหมู่บ้าน 9.09
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 4.55
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
เฉลี่ย 7.13
สูงสุด 9.00
ต่ าสุด 7.00
ที่มา: จากการส ารวจ (2564) ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 3 กรมพัฒนาที่ดิน และ
จากการค านวณ (2564) กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
2.4.3 ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 4
จากการศึกษาพบว่า เกษตรกรมีการกู้ยืมเงินร้อยละ 67.65 และมีเกษตรกรที่ไม่มีการกู้ยืมเงิน
ร้อยละ 32.35 ของเกษตรกรทั้งหมด ส าหรับเกษตรกรที่มีการกู้ยืมเงินมีวงเงินกู้เฉลี่ย 224,565.22 บาท
ต่อครัวเรือน โดยแหล่งเงินกู้ที่เกษตรกรกู้มากที่สุดคือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
ร้อยละ 91.30 ของเกษตรกรที่กู้ยืมเงิน รองลงมาคือกองทุนหมู่บ้านร้อยละ 26.09 ธนาคารพาณิชย์และพ่อค้า
หรือนายทุนร้อยละ 4.35 เท่ากัน มีอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เฉลี่ยร้อยละ 7.12 ต่อปี (ตารางที่ 2-10)