Page 17 - การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม
P. 17

1-4





                  1.8   วิธีกำรและขั้นตอนกำรด ำเนินงำน

                             1.8.1 ศึกษาข้อมูลและจัดท าเครื่องมือ

                                   ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เช่น พืชในพื้นที่โครงการ พื้นที่

                  ที่เข้าร่วมโครงการ เป็นต้น และจัดเตรียมเครื่องมือ เช่น แผนที่ เครื่องค านวณระบบก าหนดต าแหน่ง
                  บนพื้นโลก (Global Positioning System: GPS) แบบสอบถามในการส ารวจ เป็นต้น พร้อมทั้งวางแผน

                  การปฏิบัติงาน และประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                             1.8.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล

                                   1) ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากการส ารวจ

                  ภาคสนาม (Field Survey) ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เกษตรกร โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires)
                                   2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลต่าง ๆ ที่ท าการเก็บรวบรวม

                  จากเอกสารวิชาการ ผลงานวิจัย รายงาน บทความ และระบบสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต เพื่อน าข้อมูล

                  ดังกล่าวมาอ้างอิงและประกอบการศึกษา
                             1.8.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

                                   1) ประชากรที่ใช้ในการศึกษา เป็นเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนกิจกรรม
                  การผลิตในปี 2562 ที่ท านาข้าวในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม (S3, N) และปรับเปลี่ยนการผลิตเป็นเกษตรผสมผสาน

                  ในพื้นที่ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 3, 4 และ 5 จ านวน 3,312 คน

                                   2) กลุ่มตัวอย่าง คือ การก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากประชากรที่ใช้
                  ในการศึกษา ด้วยวิธีการค านวณจากสูตรของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 90% (ภาคผนวก ก)

                  ซึ่งมีขนาดตัวอย่างจ านวน 98 ตัวอย่าง แต่สามารถส ารวจได้จ านวน 106 ตัวอย่าง โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง
                  แบบใช้ความน่าจะเป็น (Probability sampling) ด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling)

                  สามารถแบ่งเป็น 3 กลุ่ม (ภาคผนวก ข) ตามส านักงานพัฒนาที่ดินเขต ดังนี้

                                      2.1) ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 3  จ านวน 28 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 26.41
                                      2.2) ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 4  จ านวน 34 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 32.08

                                      2.3) ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 5  จ านวน 44 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 41.51

                             1.8.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
                                   ข้อมูลที่เก็บรวบรวมจะน ามาตรวจสอบเพื่อแก้ไขความผิดพลาดที่เกิดขึ้น แล้วน ามา

                  ประมวลผลในส านักงาน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูป Microsoft Excel และตรวจสอบ

                  ความถูกต้องอีกครั้ง จากนั้นจึงวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive
                  Analysis) แสดงผลเป็นค่าความถี่ และหรือค่าร้อยละ และหรือค่าเฉลี่ย ได้แก่ การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป
                  ของครัวเรือนเกษตรและวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิต ดังนี้
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22