Page 13 - การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม
P. 13
(9)
ผลผลิตพืชที่ปรับเปลี่ยนที่มีมูลค่าผลผลิต 7,119.55 บาทต่อไร่ เท่ากับ 3,944.35 หรือร้อยละ 124.22
จึงท าให้ได้รับผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 773.65 บาทต่อไร่ ซึ่งน้อยกว่าผลตอบแทนสุทธิของพืชที่ปรับเปลี่ยน
ที่มีผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 3,451.66 บาทต่อไร่ เท่ากับ 2,678.01 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 346.15
ส าหรับการประเมินอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio) ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการฯ เท่ากับ
1.32 และ 1.94 ตามล าดับ เมื่อเปรียบเทียบกันแล้วหลังเข้าร่วมโครงการมีอัตราส่วนที่เพิ่มขึ้นแสดงว่า
มีความคุ้มค่าในการลงทุนมากกว่า
ผลการประเมินในภาพรวมพบว่า เกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง 106 ราย มีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้น 104 ราย
หรือร้อยละ 98.11 ของจ านวนเกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง ทั้งนี้มีเกษตรกรที่มีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ
10.00 จ านวน 99 ราย หรือร้อยละ 93.40 ของเกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง โดยมีรายได้สุทธิก่อนเข้าร่วม
โครงการ 8,926.27 บาทต่อครัวเรือน และมีรายได้สุทธิหลังเข้าร่วมโครงการ 39,824.09 บาทต่อครัวเรือน
ซึ่งเพิ่มขึ้น 30,897.82 บาทต่อครัวเรือน ในภาพรวมความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีต่อโครงการ 5 ระดับ
สรุปได้ว่า เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อการด าเนินกิจกรรมการปรับเปลี่ยนเฉลี่ย 4.48 อยู่ในระดับความพึง
พอใจมาก ความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตที่เปลี่ยนแปลงเฉลี่ย 4.39 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก และความพึง
พอใจต่อการด าเนินงานโครงการในภาพรวมเฉลี่ย 4.46 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก
ข้อเสนอแนะ ควรสนับสนุนวัสดุการปรับปรุงบ ารุงดิน ส่งเสริมการท าการเกษตรแบบผสมผสาน
ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมให้กับเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
สนับสนุนการรวมกลุ่มเกษตรกร สนับสนุนแหล่งเงินทุนในการท าการเกษตรแบบผสมผสานจากสถาบัน
ทางการเงิน ส่งเสริมการจดบันทึกค่าใช้จ่ายและรายได้ที่เกิดจากการปลูกพืช รวมถึงพัฒนาระบบการติดตาม
และประเมินผลเชิงบูรณาการ เพื่อให้การด าเนินงานของโครงการมีความยั่งยืน