Page 11 - คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำแผนที่การใช้ที่ดิน 2567
P. 11
3
เป็นไม้ยืนต้นเศรษฐกิจ อายุตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวมากกว่า 4 ปี ที่มีผลผลิตหลักของการปลูกคือเนื้อไม้ เช่น
สวนยูคาลิปตัส สวนสัก สวนสนประดิพัทธ์ เป็นต้น
ื้
ื้
4) พนที่น้ า (Water Body ; W) เป็นพนที่ที่มีน้ าปกคลุมมากกว่าร้อยละ 80 ของพนที่ทั้งหมด และ
ื้
ปกคลุมเป็นระยะต่อเนื่องเวลานานกว่า 9 เดือนต่อปี (Food and Agriculture Organization of the United
Nations, 2005) โดยรายละเอียดตาราง Attribute ของ Shapefile แผนที่การใช้ที่ดิน จะระบุชื่อในช่อง LU_DES
ประกอบด้วย แหล่งน้ าธรรมชาติ และแหล่งน้ าที่สร้างขึ้น
ื้
5) พนที่เบ็ดเตล็ด (Miscellaneous land ; M) เป็นพนที่นอกเหนือจากประเภทการใช้ที่ดิน
ื้
ื่
ื้
4 ประเภทแรก ประกอบด้วย ทุ่งหญ้าและไม้ละเมาะ พนที่ลุ่ม เหมืองแร่ บ่อขุด พนที่เบ็ดเตล็ดอน ๆ นาเกลือ
ื้
หาดทราย และที่ทิ้งขยะ
1.5 หน้ำที่ควำมรับผิดชอบ
ั
1.5.1 กรมพฒนาที่ดินก าหนดและจัดท ากรอบจ านวนจังหวัดเป้าหมายที่จะต้องด าเนินการในแต่ละ
ปีงบประมาณ ตามนโยบายของรัฐบาล หรือโครงการต่าง ๆ
1.5.2 ผู้อานวยการกลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน มีบทบาทหน้าที่ในการควบคุมและก ากับดูแล
การปฏิบัติงานการส ารวจ และจัดท าแผนที่การใช้ที่ดิน และศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินรายจังหวัดให้เป็นไป
ตามมาตรฐานและระยะเวลาที่ก าหนด ด าเนินการส่งข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินให้กับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร เพื่อด าเนินการเผยแพร่ข้อมูลต่อไป
1.5.3 เจ้าหน้าที่มีบทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานการส ารวจและจัดท าแผนที่การใช้ที่ดินและศึกษา
การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินรายจังหวัด จัดท ารายงาน พร้อมทั้งด าเนินการตรวจสอบความถูกต้องของแผนที่
การใช้ที่ดิน ระดับ 2 ที่ด าเนินการเสร็จแล้ว ตามทได้รับมอบหมาย
ี่
1.5.4 คณะท างานวิชาการกองนโยบายและแผนการใช้ที่ดินมีบทบาทหน้าที่ในการตรวจสอบความถูกต้อง
ของรายงานสภาพการใช้ที่ดิน ด าเนินการออกเลขหนังสือเอกสารวิชาการ และเผยแพร่