Page 10 - คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำแผนที่การใช้ที่ดิน 2567
P. 10

2


                                                                                          ื้
                                   ื่
                              ื้
               แบ่งสรรปันส่วนพนที่เพอกิจกรรมต่าง ๆ (สมเจตน์, 2524) โดยมีขอบเขตและขนาดของพนที่ในการใช้ที่ดินแต่ละ
               ประเภท ซึ่งอาจเป็นการใช้ที่ดินทั้งการเกษตรและไม่เกี่ยวข้องกับการเกษตร (บุญเกียรติ, 2535) การใช้ที่ดินของ
                                                                                                 ี
               มนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยเป็นการเปลี่ยนแปลงจากการใช้ที่ดินประเภทหนึ่งไปเป็นอกประเภทหนึ่ง
               (สถิต, 2521)
                     1.4.2 แผนที่การใช้ที่ดิน (Land  use Map) หมายถึง แผนที่แสดงพนที่ที่มีการน าที่ดินมาใช้สนองความ
                                                                               ื้
               ต้องการของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น เกษตรกรรม พาณิชยกรรม อตสาหกรรม และที่อยู่อาศัย โดยเป็นสภาพ
                                                                         ุ
               สิ่งปกคลุมดินที่ไม่มีการจ าแนกถึงกรรมสิทธิ์ที่ดิน ซึ่งเป็นการใช้ที่ดินทั้งในและนอกเขตป่าตามกฎหมาย และรวมถึง
               สิ่งปกคลุมดินอื่น ๆ เช่น พนที่ป่า พื้นที่น้ า เป็นต้น (กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน, 2565)
                                     ื้
                     1.4.3 การจ าแนกการใช้ประโยชน์ที่ดิน ราชบัณฑิตยสถาน (2543) กล่าวว่า การจ าแนกประเภทการใช้ที่ดิน
               และสิ่งปกคลุมดินเป็นรูปแบบหนึ่งของการจ าแนกประเภทที่ดิน โดยจัดแบ่งที่ดินตามระบบขั้นตอน จ าแนกประเภท

               ตามการใช้ที่ดินในสภาพปัจจุบัน เช่น การท านา ท าสวนผลไม้ แหล่งอตสาหกรรม ที่อยู่อาศัย เป็นต้น การจัดท า
                                                                          ุ
               แผนที่การใช้ที่ดิน ยึดถือแนวทางตามระบบการจ าแนกการใช้ประโยชน์ที่ดิน ซึ่งจัดท าโดยกลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน
                                                 ั
               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพฒนาที่ดิน (ตารางภาคผนวกที่ 1) โดยจ าแนกประเภทการใช้ที่ดินหลัก
                                                                                                    ื
               ออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1) พ้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 2) พ้นที่เกษตรกรรม 3) พ้นที่ป่าไม้
                                                                               ื
                                               ื
                                 ื้
               4) พื้นที่น้ า และ 5) พนที่เบ็ดเตล็ด จากนั้นจ าแนกประเภทการใช้ที่ดินย่อยอย่างเป็นระบบ สู่หน่วยย่อยในระดับที่
               2 และระดับที่ 3 โดยระดับที่ 3 ส่วนใหญ่ระบุในงานระดับจังหวัดหรือระดับโครงการ กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้
               ที่ดิน (2565) ให้ค านิยามแต่ละประเภท ดังนี้

                           1) พนที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (Urban and Built-up land ; U) เป็นประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                               ื้
                                             ื้
               ที่เกิดจากการสร้างของมนุษย์บนพนที่บก มีสิ่งปลูกสร้างเป็นสิ่งปกคลุมดิน (Land  cover) หลัก มีพชพรรณ
                                                                                                      ื
               ปกคลุมหรือไม่มีก็ได้ ประกอบด้วย ตัวเมืองและย่านการค้า หมู่บ้าน สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ สถานีคมนาคม
               พื้นที่อุตสาหกรรม สิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ และสนามกอล์ฟ
                           2) พื้นที่เกษตรกรรม (Agricultural land ; A) เป็นประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เกิดจากการสร้าง

               ของมนุษย์บนพื้นที่บก เพื่อเพาะปลูกพืชต่าง ๆ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์ การประมง และการป่าไม้ มีพชเป็นสิ่งปกคลุมดิน
                                                                                             ื
               (Land  cover) หลัก เป็นการกระท าเพ่อน าผลผลิตที่ได้ส าหรับอุปโภค และบริโภค  โดยให้รวมคลอง ถนนที่มี
                                                 ื
               ความกว้างต่ ากว่า 30 เมตร บ่อน้ า และอาคารสิ่งปลูกสร้างที่มีความกว้างหรือยาวต่ ากว่า 100 เมตร ประกอบด้วย

                                             ื
                                                                                                  ื
               พนที่นา  พชไร่  ไม้ยืนต้น  ไม้ผล  พชสวน  ไร่หมุนเวียน ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์  พชน้ า  สถานที่
                 ื้
                         ื
               เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า และเกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม
                               ื้
                           3) พนที่ป่าไม้ (Forest land ; F) บริเวณที่มีต้นไม้ (Trees) หลายชนิด ขนาดต่าง ๆ ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น
                                                                                       ้
                                                                                                    ุ
               และกว้างใหญ่พอที่จะมีอทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมในบริเวณนั้น เช่น ความเปลี่ยนแปลงของลมฟาอากาศ ความอดมสมบูรณ์
                                   ิ
               ของดินและน้ า มีสัตว์ป่าและสิ่งมีชีวิตอื่นซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มีต้นไม้สูงตั้งแต่ 3 เมตรขึ้นไป มีเรือนยอด
                                                                                                 ื้
               ปกคลุมร้อยละ 30 ขึ้นไป (องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน), 2554) หรือพนที่ป่าที่ชุมชน
                                          ื้
               ปลูกและ/หรืออนุรักษ์ไว้ โดยมีพนที่อย่างน้อย 10 ไร่ ประกอบด้วย ป่าไม่ผลัดใบ (ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา
               ป่าสนเขา) ป่าผลัดใบ (ป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง) ป่าชายเลน ป่าพรุ ป่าปลูก วนเกษตร และป่าชายหาด โดยไม่นับ
               รวมป่าละเมาะ หรือต้นไม้สองข้างทางคมนาคม หรือที่ยืนต้นอยู่ตามหัวไร่ปลายนา หรือที่มีอยู่ในสวนสาธารณะ ป่า
                                                                                      ื
               บุงป่าทาม (M2) ป่าในสถานที่ราชการ และสถาบันต่าง ๆ (U3) เช่น วัดป่า และไม่รวมพ้นที่เกษตรกรรมที่ปลูกพืชที่
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15