Page 13 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 13
1-3
(2.3.3) น้ำใตดิน โดยศึกษาถึงชั้นหินใหน้ำจากขอมูลธรณีสัณฐาน
ี
(กรมทรัพยากรธรณ, 2556) มาตราสวน 1:1,000,0000 มาซอนทับกับพื้นที่ศึกษา และพิจารณาถึงคุณภาพ
ึ
น้ำใตดิน และศักยภาพในการพัฒนาน้ำใตดินในพื้นที่ศกษา
(2.3.4) คุณภาพน้ำผิวดิน ศึกษาจากขอมูลรายงานผลการตรวจคุณภาพน้ำ
ิ
จากสถานีตรวจวัดคุณภาพน้ำของกรมควบคุมมลพษ
(2.4) ภูมิอากาศ เปนการศึกษาสภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป และขอมูลภูมิอากาศ
จากกรมอุตุนิยมวิทยา ณ สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดประจวบคีรีขันธ จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัด
ราชบุรีในรอบ 15 ป (ชวงป พ.ศ. 2549-2564) รวมถึงพิจารณาสมดุลของน้ำเพื่อการเกษตร
(2.5) ทรัพยากรดิน เปนการศึกษาถึงลักษณะของดินเพื่อยืนยันลักษณะการเกด
ิ
ของพื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจาน รวมถึงลักษณะดินโดยรวมที่มีลักษณะของดินชุมน้ำ
โดยศึกษาจากขอมูลกลุมชุดดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000
ิ
ี่
ี่
ึ
ึ
ี่
(2.6) สภาพการใชทดิน เปนการศึกษาถงการใชทดินของพื้นทศกษา โดยพจารณา
จากขอมูลสภาพการใชที่ดินตลอดระยะเวลา 12 ป ยอนหลังของกรมพัฒนาทดิน ไดแก ป พ.ศ. 2554
ี
่
2558 และ 2563 จากนั้นทำการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชที่ดินบริเวณพื้นที่ศกษา
ึ
(2.7) ขอมูลดานเกษตรกรรม เปนการศึกษาขอมูลดานการเกษตรในพื้นที่ โดยศึกษา
ถึงสภาพการใชที่ดินในปปจจุบันเปรียบเทียบกับขอมูลประเภทการใชที่ดินในอดีต เพื่อศึกษาถึง
การเปลี่ยนแปลงดานการเกษตรในพื้นที่ศึกษา และทำการประเมินความเหมาะสมของที่ดินบริเวณ
พื้นที่ศึกษา ตามหลักเกณฑการประเมินของ FAO (1983) และ FAO (1985)
(2.8) ขอมูลดานกฎหมาย เปนการศกษาถงขอมลดานกฎหมายทเกี่ยวกบการอนุรักษ
ู
ึ
ึ
ั
ี่
ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ขอมูลของเขตอุทยานแหงชาติ ขอมูลเขตปาตามกฎหมาย ประกอบดวย
ขอมูลเขตหามลาสัตวปา เขตปาสงวนตามมติคณะรัฐมนตรี ป 2535 ขอมูลเขตปฏิรูปที่ดินเพอ
ื
่
เกษตรกรรม ขอมูลขอบเขตชั้นคุณภาพลุมน้ำ ขอมูลขอบเขตปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี
2) ดานทรัพยากรธรรมชาติ เปนการศึกษาโดยวิเคราะหขอมูลจากขอมูลทุติยภูมิ
่
เพอสรุปเปนขอมูลดานพืชพรรณ ประมง และสัตวปา
ื
3) ดานเศรษฐกิจและสังคม เปนการวิเคราะหจากขอมูลทุติยภูมที่ไดจากหนวยงานตาง ๆ
ิ
ที่เกี่ยวของเปนการเบื้องตน
1.4.3 การวิเคราะหเพื่อวางแผนการใชที่ดินและกำหนดแนวทางการใชประโยชนที่ดิน ทำ
ิ
การสังเคราะหขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลดานกายภาพ ดานทรัพยากรธรรมชาติ และดานเศรษฐกจ
และสังคม มาพิจารณากำหนดเขตการใชที่ดิน โดยพิจารณากำหนดแนวทางการวางแผนการใชที่ดิน
ตามหลักการของ FAO (1993) โดยแบงเปน 2 เขตหลัก คือ เขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาต ิ
และเขตรักษาสมดุลสภาพแวดลอมนอกเขตพื้นที่ชุมน้ำทมีความสำคญระดับนานาชาติ โดยมีรายละเอียด
ี่
ั
ดังนี้
1) เขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ เปนเขตพื้นที่เพื่อการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาตและสิ่งแวดลอมตามกฎหมาย และอยูภายใตเขตพื้นที่ที่กำหนดตามกฎหมาย
ิ
ประกอบดวยเขตคุมครองสภาพปา เขตฟนฟูสภาพปาอนุรักษ เขตบำรุงรักษาสภาพปา เขตฟนฟ ู