Page 12 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 12
1-2
1.2 วัตถุประสงค
1.2.1 เพื่อกำหนดแผนการใชที่ดินพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ
1.2.2 เพื่อศึกษาสถานภาพทรัพยากรโดยรอบพื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจาน
ตอการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
1.3 ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินงาน
1.3.1 ระยะเวลา 1 ตุลาคม 2565 - 30 กนยายน 2566
ั
ี
่
ี
่
ั
1.3.2 สถานทดำเนินงาน พื้นทศึกษาในรัศม 5 กิโลเมตร รอบพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคญ
ี
ิ
ั
ุ
ิ
ระดบนานาชาตอทยานแหงชาตแกงกระจาน เนื้อที่ประมาณ 2,653,320 ไร ครอบคลุมพื้นที่ อำเภอหัวหิน
อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ อำเภอหนองหญาปลอง อำเภอทายาง อำเภอแกงกระจาน
จังหวัดเพชรบุรี อำเภอบานคา อำเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี
1.4 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
1.4.1 การรวบรวมและศึกษาขอมูลทุติยภูม ิ
รวบรวมขอมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวของดานกายภาพ ชีวภาพ และสังคมสิ่งแวดลอม รวมถึงขอมูล
แผนทภาพถายทางอากาศ และขอมูลสารสนเทศภูมศาสตรจากหนวยงานทเกยวของ
่
ี
ี่
ิ
ี่
1.4.2 วิเคราะหขอมูลเบื้องตนดานกายภาพ ดานทรัพยากรธรรมชาติ และดานเศรษฐกิจและสังคม
1) ดานกายภาพ
ื้
(1) นำเขาขอมูลขอบเขตพนที่ชุมน้ำทมีความสำคญระดับนานาชาติ (สำนักงานนโยบาย
ี่
ั
และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2564) ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อกำหนดขอบเขต
่
ี
พื้นที่ศึกษา โดยกำหนดพื้นทศึกษาในรัศมี 5 กิโลเมตร จากขอบเขตพื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาต ิ
แกงกระจาน ที่ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ สำหรับหลักเกณฑในการกำหนด
พื้นที่ศึกษารอบพื้นที่ชุมน้ำ อางอิงจากงานวิจัยของสำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาต
ิ
และสิ่งแวดลอม สวนใหญไดมีการศึกษาสถานภาพพื้นที่ชุมน้ำในพื้นที่ศึกษาในระยะรัศม 5 กิโลเมตร
ี
รอบพื้นที่ชุมน้ำ จึงไดนำหลักเกณฑดังกลาวมาใชในการจัดทำแผนการใชที่ดินเพื่อบริหารจัดการ
พื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจานแหงนี
้
(2) นำเขาและจัดทำขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรดานกายภาพ ประกอบดวยขอมูลดังนี้
(2.1) ลักษณะภูมิประเทศ ศึกษาจากการนำเขาขอมูลแผนที่ลักษณะภูมิประเทศ
มาตราสวน 1:50,000 แลวนำมาซอนทับกับขอบเขตพื้นที่ศึกษาในรัศมี 5 กิโลเมตร รอบพื้นที่ชุมน้ำ
นานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจาน โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
(2.2) ขอบเขตการปกครอง ศึกษาจากการนำเขาขอมูลแผนที่ขอบเขตการปกครอง
ี
ึ
่
้
ื
ในรูปไฟลดิจิทัลจากกรมการปกครอง (2556) ทำการซอนทบกบขอบเขตพนทศกษา
ั
ั
(2.3) ลักษณะทางอุทกวิทยา เปนการศึกษาถึงสภาพของลุมน้ำหลักและลุมน้ำสาขา
ั
โดยใชขอมูลขอบเขตลุมน้ำหลักและลุมน้ำสาขาจากกรมทรัพยากรน้ำ (2550) มาตราสวน 1:50,000 ซอนทบ
ั
กบขอบเขตพื้นที่ศึกษารอบ ๆ พื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจาน โดยศึกษาขอมูลดังนี้
(2.3.1) ลักษณะทางอุทกวิทยาของพื้นท ี่
(2.3.2) ปริมาณน้ำทา