Page 11 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 11

บทที 1
                                                              ่
                                                         บทนำ



                  1.1  หลักการและเหตุผล
                      พื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจาน ไดรับการประกาศรับรองเปนพื้นที่ชุมน้ำ
                  ที่มีความสำคัญระดับนานาชาต ตั้งอยูในพื้นที่ อำเภอหนองหญาปลอง อำเภอแกงกระจาน อำเภอทายาง
                                           ิ
                  จังหวัดเพชรบุรี และ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีความสำคัญ คือ เปนแหลงตนน้ำลำธาร
                  เปนแหลงน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค เกษตรกรรม และการประมง เปนแหลงนันทนาการและการทองเที่ยว
                  มีเนื้อที่ประมาณ 2,915 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,821,875 ไร ไดรับการประกาศใหเปนเขตอุทยานแหงชาต  ิ

                  เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2524 โดยกำหนดพื้นที่บริเวณอางเก็บน้ำและปาเหนือเขื่อนแกงกระจานเปนเขต
                                                                                              ิ
                                ิ
                  อุทยานแหงชาต เปนตนน้ำลำธารของแมน้ำหลายสาย พื้นที่สวนใหญของอุทยานแหงชาต เปนภูเขา
                  สลับซับซอนอยูในเทือกเขาตะนาวศรี เปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติตามมติคณะรัฐมนตรี
                  1 สิงหาคม 2543 เปนแหลงตนน้ำลำธารของแมน้ำเพชรบุรี และแมน้ำปราณบุรี มีน้ำตก และน้ำพุรอน
                  มีอางเก็บน้ำขนาดใหญ คือ อางเก็บน้ำเขื่อนแกงกระจาน และอางเก็บน้ำเขื่อนปราณบุรี พื้นที่แหงนี ้

                  ประกอบดวยปาดิบเขา ปาดิบชื้น ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง และปาละเมาะ เปนพื้นที่ที่พบนกหลากหลาย
                  สายพันธุ แตบางชนิดกอยูในสถานภาพทีถูกคุกคาม บางชนิดมีสถานภาพใกลสูญพนธุอยางยิ่ง (Critically
                                                   ่
                                     ็
                                       
                                                                                     ั
                  endangered; CR) และบางชนิดอยูในสถานภาพใกลถูกคุกคาม (Near Threatened; NT) นอกจากนี  ้
                  ยังพบสัตวหายากอื่น ๆ ในพื้นที่แหงนี้ หากหนวยงานที่เกี่ยวของ หรือชุมชนที่เกี่ยวของไมมีการอนุรักษ  
                                                                          ี
                  หรือรักษาความหลากหลายทางธรรมชาติเหลานี้ไว โดยปลอยใหมการบุกรุก ทำลายปาในเขตตนน้ำ
                            ่
                    
                         ุ
                                               ุ
                                                                   ี
                                                          ิ
                  ไมควบคมเรืองการลาสัตวปาในเขตอทยานแหงชาต หรือในรัศมรอบเขตอุทยานแหงชาติแหงนี้ เราจะสูญเสีย
                  ความหลากหลายทางธรรมชาติ เกิดความไมสมดุลของระบบนิเวศ และจะเกิดความเสื่อมโทรม
                  ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตามมา
                                                                                    
                                                                                       ี
                        ความสำคัญของพื้นที่ชุมน้ำมิไดจำกัดอยูเพียงเปนแหลงผลิตเทานั้น แตยังมความสำคัญในดาน
                  ความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในพื้นที่ชุมน้ำ ทั้งพืชน้ำ ปลา นก จุลินทรีย และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
                  อีกมากมาย เมื่อใดก็ตามที่ธรรมชาตของพื้นที่ชุมน้ำถูกทำลายลง ยอมสงผลกระทบไปถึงทรัพยากร
                                                 ิ
                  ที่เปนผลผลิตตอเนื่องโดยตรงดวย ปจจุบันพบปญหาและการคุกคามในพื้นที่ชุมน้ำ ดังนั้น เพื่อใหเกด
                                                                                                      ิ
                                                                                                       ิ
                  การตระหนักในคุณคาและความสำคัญของพื้นที่ชุมน้ำที่ควรไดรับการอนุรักษไวเปนมรดกทางธรรมชาต
                  เพื่อใหชุมชนไดใชประโยชนทั้งทางตรงและทางออมอยางยั่งยืนตลอดไป กลุมวางแผนบริหารจัดการ
                  พื้นที่ชุมน้ำ กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน จึงไดจัดทำโครงการแผนการใชที่ดิน

                                                                                 
                                                                               ิ
                                                                  ิ
                                                                   ุ
                                            ี
                  เพื่อบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มความสำคัญระดบนานาชาตอทยานแหงชาตแกงกระจานขึน
                                                                                          ้
                                                         ั
                        การจัดทำโครงการแผนการใชที่ดินเพื่อบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาต ิ
                                                                                                       ิ
                  อุทยานแหงชาติแกงกระจาน เพื่อศึกษาความรูความเขาใจของชุมชนตอการจัดการทรัพยากรธรรมชาต
                  และการใชประโยชนพื้นทของชุมชนในรัศมี 5 กิโลเมตร โดยรอบพื้นทชุมน้ำ เพื่อจัดทำเปนเขตการอนุรักษ 
                                       ่
                                       ี
                                                                          ่
                                                                          ี
                  พื้นที่ชุมน้ำอยางยั่งยืน เพื่อใหไดแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ำทีมีประสิทธิภาพ สามารถระบุไดวาพื้นที่ใด
                                                                     ่
                   ี
                                         
                  มความเปราะบางควรอนุรักษไว พื้นที่ใดใหใชประโยชนได และพื้นที่ใดควรมีการปรับปรุง ฟนฟู เพื่อที่จะดำรง
                                 
                  ความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ำตอไป
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16