Page 13 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 13

่
                                                         บทที 2
                                                     ขอมูลพื้นฐาน



                  2.1  ประวัติความเปนมา

                      2.1.1 ตราสัญลักษณ คำขวัญ















                                       
                  รูปที่ 2-1  ตราสัญลักษณจังหวัดสกลนคร
                              ตราสัญลักษณจังหวัดสกลนคร รูปพระธาตุเชิงชุม หนาหนองหานหลวงและดอนสวรรค  
                                                             ู
                              คำขวญจังหวัดสกลนคร "ธาตเชิงชุมคบาน พระตำหนักภูพานคเมองงามลือเลืองหนองหาร
                                                      ุ
                                                             
                                  ั
                                                                                   ื
                                                                                             ่
                                                                                 ู
                                                                                 
                  แลตระการปราสาทผึ้งสวยสุดซึ้งสาวภูไท ถิ่นมั่นในพุทธธรรม"
                      2.1.2 ความเปนมาของเมองสกลนคร
                                             ื
                          ประวัติเมืองหนองหารหลวง ประวัติเมืองหนองหารหลวงไมมีหลักฐานปรากฏไวเปน
                                             
                  ลายลักษณอักษรนอกจากผูเฒาผูแกของเมืองไดจดจำถอยคำของพระบรรเทา กรมการเมืองขุนขันธคนเกา
                  กับเพี้ยศรีคอนชุม ซึ่งเปนหัวหนาขา พระธาตุเชิงชุมวาหลังจากพระยาสุวรรณภิงคาระสิ้นพระชนมลง
                                         
                                                                                                      
                  เหลาเสนาขาราชการผูใหญชาวเขมรก็ไดผลัดเปลี่ยนกันเขามาปกครองเปนเจาเมือง หนองหารหลวงตอ
                  กันมาเรื่อยๆ หลายยุคหลายสมัยตอมาไดเกิดทุกขภัยฝนแลงมา 7 ป ราษฎรไมไดทำนา เกิดความอด
                  อยากขาวปลาอาหารไมมีจะกิน เจาเมืองอพยพราษฎรอยูที่เมืองหนองหารหลวงไปอยูที่เมืองเขมรกน
                                                                                                      ั
                                                                                                      ็
                                                                     ่
                  หมด ทิ้งใหเมืองหนองหารหลวงกลายเปนเมืองรางในรัชกาลที 1 แหงกรุงรัตนโกสินทร พระบาทสมเดจ
                  พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหอุปฮาดเมืองกาฬสินธุ พรอมดวยครอบครัวมา
                  ตั้งรักษาพระธาตุเชิงชุมจนมีผูคนมากขึ้นแลวจึงโปรดเกลาฯ ใหยกบานธาตุเชิงชุมเปนเมืองสกลทวาป
                  โดยตั้งใหอุปฮาดเมืองกาฬสินธุเปนพระธานีเจาเมืองสกลทวาปคนแรก พ.ศ. 2369 สมัยรัชกาลที่ 3 ได 
                                                                                                   ิ
                  เกิดกบฏเจาอนุวงศเวียงจันทร เจาเมืองสกลทวาปไมไดเตรียมกำลังปองกันเมือง เจาพระยาบดนทร
                  เดชานุชิต (สิงห สิงหเสนี) เปนแมทัพมาตรวจราชการ เห็นวาเจาเมืองกรมการไมเอาใจใสตอบานเมือง
                  ปลอยใหขาศึก (ทัพเจาอนุวงศ) ลวงลำไดโดยงายจึงสั่งใหนำตัวพระธานี ไปประหารชีวิตที่หนอง

                  ทรายขาว พรอมกับกวาดตอนผูคนในเมืองสกลทวาปไปอยูที่กบินทรบุรีบาง ประจันตคามบาง ให
                  คงเหลือรักษาพระธาตุเชิงชุม แตพวกศรีคอนชุม ตำบลธาตุเชิงชุม บานหนองเหียน บานจานเพ็ญ บาน
                  ออมแกว บานธาตุเจงเวง บานพราน บานนาค บานวังยาง และบานพรรณา รวม 10 ตำบล เพื่อใหเปน
                                                        ี
                  ขาปฏิบัติพระธาตุเชิงชุมเทานั้นในสมัยตอ ๆ มา ไดมีราชวงศคำ แหงเมืองมหาชัยกองแกว ทางฝงซาย

                  แมน้ำโขง ไดอพยพขามแมน้ำโขงเขามาขอพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ขอสรางบานแปงเมืองขึ้นใหมที่เมอง
                                                                                                     ื
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18