Page 15 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 15

2-3





                             1) ทางหลวงแผนดินหมายเลข 22 เปนเสนทางเชื่อมระหวางจังหวัดอุดรธานี - สกลนคร

                                       ั
                  และนครพนมไปบรรจบกบเสนทางหลวงแผนดนหมายเลข 212 ที่อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม
                                                        ิ
                             2) ทางหลวงแผนดินหมายเลข 213 เชื่อมระหวางจังหวัดสกลนครกับจังหวัดกาฬสินธุ ไป
                         ั
                                           ิ
                  บรรจบกบเสนทางหลวงแผนดนหมายเลข 209 และ 214 ที่จังหวัดกาฬสินธุ
                             3) ทางหลวงแผนดินหมายเลข 223 เชื่อมระหวางจังหวัดสกลนครกับจังหวัดนครพนม โดย
                  ผานอำเภอโคกศรีสุพรรณ ไปบรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข 212 ที่อำเภอธาตุพนม จังหวัด
                  นครพนม

                             4)  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 222 เชื่อมระหวางจังหวัดสกลนครกับจังหวัดหนองคาย
                  แยกจากทางหลวงแผนดินหมายเลข 22 ที่อำเภอพังโคน ผานอำเภอวานรนิวาส อำเภอคำตากลา ไป
                         ั
                  บรรจบกบทางหลวงแผนดนหมายเลข 212 ที่อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ
                                        ิ
                             การเดินทางจากกรุงเทพมหานครไปยังจังหวัดสกลนคร สวนใหญใชเสนทางหลวงแผนดน
                                                                                                      ิ
                  หมายเลข 2 จากกรุงเทพฯ ผานจังหวัดสระบุรี นครราชสีมา แลวแยกเขาทางหลวงแผนดินหมายเลข 23

                  ผานจังหวัดมหาสารคาม และกาฬสินธุ แยกเขาทางหลวงแผนดินหมายเลข 213 เขาสูจังหวัดสกลนคร
                  การเดินทางโดยรถประจำทางทั้งทางธรรมดา และปรับอากาศจากกรุงเทพฯ – สกลนคร ใชเวลา

                                     ี
                  ประมาณ 10 ชั่วโมง มบริษัท ขนสง จำกัด และ บริษัทเอกชน มีรถประจำทางไปจังหวัดสกลนครทกวัน
                                                                                                   ุ
                  ออกจากสถานีขนสงสายตะวันออกเฉียงเหนือ
                        2.3.2 ทางรถไฟ
                             ปจจุบันจังหวัดสกลนคร ไมมีเสนทางรถไฟ แตสามารถเดินทางดวยรถไฟมาลงที่จังหวัด
                  อุดรธานีแลวเดินทางโดยรถยนตจากจังหวัดอุดรธานีถึงจังหวัดสกลนคร ระยะทางประมาณ 159

                  กิโลเมตร ใชเวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง
                        2.3.2 ทางเครื่องบิน

                             จังหวัดสกลนคร มีเที่ยวบินจากกรุงเทพฯ มายังสกลนครทุกวันๆ ละ 2 เที่ยว เสนทาง
                                            ั
                  ดอนเมือง – สกลนคร โดย บริษทนกแอร
                  2.4  ลักษณะภูมิประเทศ


                                                              ี
                      ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเปนที่ราบสูง มเทือกเขาภูพานกั้นเขตแดนทางใตระหวางจังหวัด
                                                          
                                                 ื
                  สกลนคร กบจังหวัดกาฬสินธุ ซงเปนเทอกเขาใหญ ผานอำเภอเมองสกลนคร อำเภอกดบาก อำเภอวาริชภูม  ิ
                                                                                     ุ
                                                                     ื
                                           ึ
                                         
                           ั
                                           ่
                  อำเภอสวางแดนดิน และบางสวนของจังหวัดนครพนม และมุกดาหาร สูงกวาระดับน้ำทะเลโดย
                  เฉลี่ยประมาณ 172 เมตร ดานทิศเหนือของจังหวัด (บริเวณอำเภอบานมวง อำเภอคำตากลา อำเภอ
                  สวางแดนดิน อำเภออากาศอำนวย และอำเภอเจริญศิลป) มีลักษณะ ภูมิประเทศเปนที่ราบลุมลอนคลื่น
                                                                                                      ึ
                  ไมสม่ำเสมอกัน ใชน้ำจากลำหวยสาขาในการทำนา ทิศเหนือของอำเภออากาศอำนวยเปนที่ราบน้ำทวมถง
                  เนื่องจากติดกับแมน้ำสงคราม ทำใหเหมาะแกการทำนากวาพื้นที่โดยรอบ แตพื้นที่สวนใหญเปน
                  ปาทามที่ขึ้นริมน้ำและปลอยรกรางวางเปลา สวนทางตอนใตมีลักษณะเปนแองกระทะขนาดใหญ  
                  เรียกวาแองสกลนคร จุดต่ำสุดของแอง คือ ทะเลสาบหนองหาน อำเภอเมืองสกลนคร และหนองญาต   ิ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20