Page 29 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี
P. 29

3-3





                  องคประกอบ ดังนี้ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น  และทรัพยากร

                                                                                            ี
                  คุณภาพชีวิต (สังคมสิ่งแวดลอม) ซึ่งทรัพยากรเหลานี้อยูรวมกันอยางกลมกลืนเปนลุมน้ำที่มลักษณะและ
                                                                                                      
                  แสดงบทบาทเฉพาะ จึงมักเรียกลุมน้ำเปนทรัพยากรลุมน้ำ หรือระบบทรัพยากร ประเทศไทยมี 22 ลุม
                  น้ำหลัก ดังนี้ (1) ลุมน้ำสาละวิน (2) ลุมน้ำโขงเหนือ (3) ลุมน้ำโขงตะวันออกเฉยงเหนือ (4) ลุมน้ำชี (5)
                                                                                   ี
                  ลุมน้ำมูล (6) ลุมน้ำปง (7) ลุมน้ำวัง (8) ลุมน้ำยม (9) ลุมน้ำนาน (10) ลุมน้ำเจาพระยา (11) ลุมน้ำสะแก

                                                                
                  กรัง (12) ลุมน้ำปาสัก (13) ลุมน้ำทาจีน (14) ลุมน้ำแมกลอง (15) ลุมน้ำบางปะกง (16) ลุมน้ำโตนเล
                  สาบ (17) ลุมน้ำชายฝงทะเลตะวันออก (18) ลุมน้ำเพชรบุรี – ประจวบคีรีขันธ (19) ลุมน้ำภาคใตฝง 

                  ตะวันออกตอนบน (20) ลุมน้ำทะเลสาบสงขลา (21) ลุมน้ำภาคใตฝงตะวันออกตอนลางและ (22) ลุมน้ำ
                  ภาคใตฝงตะวันตก (ฐิติพนธ, 2564)
                                      ั
                                                                                                    ื้
                       “การจัดการลุมน้ำ” หมายถึง การจัดการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติทกๆอยาง ภายในพนท ี่
                                                                                     ุ
                                                        ่
                  ลุมน้ำแบบผสมผสาน โดยเฉพาะทรัพยาการทีดิน ไดแก พื้นที่ปาไม เกษตรกรรม แหลงน้ำ ชุมชน พื้นท ี ่
                                                                                ุ
                  เมือง ใหมีสัดสวนการกระจายตัวที่เหมาะสม มีมาตรการปองกันและควบคมผลกระทบที่อาจจะเกิดจา
                  กากรใชอยางไมถูกวิธี และมีการปรับปรุงหรือฟนฟูสวนที่เสื่อมโทม ใหลุมน้ำนั้นยังคงทำหนาที่สนองตอบ
                  ตอความตองการทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย โดยเฉพาะ ทรัพยากรดิน น้ำ ปาไมไดอยางยืนยาว สิ่งท ี่

                  จะบงบอกถึงผลผลสัมฤทธิ์ของการจัดการดูจาก ปริมาณน้ำที่เพียงพอ ชวงเวลาการไหลสม่ำเสมอและ
                                                               ี่
                  คุณภาพดี รวมถึงคุณภาพชีวิตความเปนอยูที่ดีของคนทอาศัยอยูในพื้นที่ลุมน้ำดวย
                       “การจัดการลุมน้ำอยางมีสวนรวม” หมายถึง การจัดการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติทุกๆ
                  อยาง ภายในพื้นที่ลุมน้ำรวมกันของผูมีสวนไดเสีย ตั้งแตรวมกันกำหนดขอบเขตพื้นที่ลุมน้ำที่ตองการ
                  จัดการ รวมกันคิดวิเคราะหสถานการณ รวมกันตัดสินใจกำหนดทิศทางการการจัดการ รวมกันลงมือฏิบัต  ิ

                                                                                          
                  รวมกับรับผิดชอบผลดีและผลเสียที่จะเกิดขึ้น และรวมกันจัดสรรผลประโยชนอยางทั่วถึงเทาเทยม
                                                                                             ี
                      3.1.5 พื้นที่ชุมน้ำ (Wetlands)  หมายถึง ที่ลุม ที่ราบลุม ที่ชื้นแฉะ พรุ แหลงน้ำ ทั้งที่เกิดขน
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ้
                  เองตามธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้น ทั้งที่มีน้ำขัง หรือ น้ำทวมอยูถาวรและชั่วครั้งชั่วคราว ทั้งที่เปน
                  แหลงน้ำนิ่ง และน้ำไหล ทั้งที่เปนน้ำจืด น้ำกรอย และน้ำเค็ม รวมไปถึงชายฝงทะเล และที่ในทะเลใน
                  บริเวณซึ่งเมื่อน้ำลดลงต่ำสุด มีความลึกของระดับน้ำไมเกิน 6 เมตร"
                        "พื้นที่ซึ่งมีลักษณะจัดไดวาเปนพื้นที่ชุมน้ำ จึงรวมถึง หวย หนอง คลอง บึง บอ กระพัง (ตระพัง)

                  บาราย แมน้ำ ลำธาร แคว ละหาน ชานคลอง ฝงน้ำ สบธาร สระ ทะเลสาบ แองลุม กุด ทุง กวาน มาบ
                  บุง ทาม สนุน แกง น้ำตก หาดหิน หาดกรวด หาดทราย หาดโคลน หาดเลน ชายทะเล ชายฝง ทะเล
                  พืดหินปะการัง แหลงหญาทะเล แหลงสาหรายทะเล คุง อาว ดินดอนสามเหลี่ยม ชองแคบ ชะวากทะเล
                  ตะกาด หนองน้ำกรอย ปาพรุ ปาเลน ปาชายเลน ปาโกงกาง ปาจาก ปาแสม รวมทั้งนาขาว นากุง นา

                  เกลือ บอปลา อางเก็บน้ำ เปนตน ตามอนุสัญญาแรมซาร (Ramsar Convention) หรืออนุสัญญาวา
                  ดวยพื้นที่ชุมน้ำ (ในมาตรา 1.1 และมาตรา 2.1 ของอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ)
                        พื้นที่ชุมน้ำ (Wetlands) คือ พื้นที่ซึ่งมีน้ำเปนปจจัยหลักในการกำหนดหรือควบคุมสภาพแวดลอม
                                                                        ิ
                  และลักษณะการดำรงอยูของสิ่งมีชีวิต โดยทั่วไปแลว พื้นที่ชุมน้ำเกดจากระดับน้ำใตดิน (Water Table)
                  ที่มีระดับอยูใกลกับผิวดินมาก สงผลใหปริมาณน้ำเออลนขึ้นมา หรืออาจถูกน้ำทวมขังเปนบริเวณกวาง
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34